Page 31 - รายงานประจำปี 2561
P. 31

การบริหารความเสี่ยงและ






            ควบคุมภายใน


                    การบริหารความเสี่ยงของเขื่อนศรีนครินทร์ ได้ด้าเนินการตามกระบวนการบริหารความเสี่ยงของ รวฟ./ชฟน.

            ซึ่งเป็นกระบวนการที่ด้าเนินการอย่างต่อเนื่องภายในสายงาน 6 ขั้นตอน ตามคู่มือการบริหารความเสี่ยงของ กฟผ./
            รวฟ. ซึ่งจะช่วยให้เขื่อนศรีนครินทร์ สามารถด้าเนินการตามกลยุทธ์ที่ก้าหนด เพื่อให้บรรลุพันธกิจและวัตถุประสงค์
            ตามที่ได้คาดหวังไว้
                    กระบวนการบริหารความเสี่ยงของสายงานด้าเนินการ  6  ขั้นตอน ดังต่อไปนี้

                1.  การก้าหนดวัตถุประสงค์
                    การก้าหนดวัตถุประสงค์ของเขื่อนศรีนครินทร์ ได้ก้าหนดตามเป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ ตามแผนที่
            ยุทธศาสตร์ อขศ. ซึ่งรองรับตามแผนที่ยุทธศาสตร์ของ รวฟ./ชฟน. ตามหลัก Balance Score Card (BSC) และตาม

            กรอบยุทธศาสตร์ ของ กฟผ. เพื่อความสอดคล้องทั่วทั้งองค์กร
                2.  การระบุหรือบ่งชี เหตุการณ์
                    เป็นกระบวนการซึ่งคณะท้างานบริหารความเสี่ยงฯ  เขื่อนศรีนครินทร์ ร่วมกันระบุเหตุการณ์หรือเงื่อนไขที่
            อาจมีผลกระทบต่อวัตถุประสงค์ของ อขศ. โดยการประชุมทบทวนความเสี่ยงที่เหลืออยู่ของ ปี 2560 และระบุความเสี่ยง
            ของปี 2561 สรุปได้ความเสี่ยงที่เหลืออยู่และความเสี่ยงใหม่รวม 14 ความเสี่ยง ดังนี้

                    1.  (S1) ไม่ถูกสั่งเดินเครื่องเนื่องจากพลังงานทดแทนที่เข้ามาในระบบ (ความเสี่ยงใหม่ ปี 2561)
                    2.  (S2) สร้างนวัตกรรมไม่ได้ตามเป้าหมาย (ความเสี่ยงใหม่ ปี 2561)
                    3.  (F1) การเบิกจ่ายงบประมาณลงทุนไม่เป็นไปตามเป้าหมาย

                    4.  (O1) ค่าความพร้อมจ่ายไม่ได้ตามเป้าหมาย
                    5.  (O2) ความเสียหายที่เกิดจากอุบัติภัยในโรงไฟฟ้า
                    6.  (O3) การด้าเนินงานด้านชุมชนไม่ยั่งยืน
                    7.  (O4) ความเสียหายที่เกิดจากภัยธรรมชาติ

                    8.  (O5) การจัดการระบายน้้าไม่เป็นไปตามความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
                    9.  (O6) ไม่สามารถตอบสนองต่อความต้องการของลูกค้าตาม COC
                    10. (O7) ต้นทุนการผลิตที่ไม่รวมค่าเชื้อเพลิงมีแนวโน้มสูง (ความเสี่ยงใหม่ ปี 2561)
                    11. (O8) การถูกบิดเบือนภาพลักษณ์ (ความเสี่ยงใหม่ ปี 2561)

                    12.  (O9) ผู้บุกรุกยังมีการบุกรุกที่ดินท้ากินบริเวณอ่างเก็บน้้า
                    13. (C1) ระบบการควบคุมการปฏิบัติตามกฎหมายไม่มีประสิทธิผล (ความเสี่ยงเดิมข้อ 4.8)
                    14. (C2) การทุจริตคอร์รัปชั่น (ความเสี่ยงเดิมข้อ 4.1–4.7)





                                                           26
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36