Page 32 - รายงานประจำปี 2561
P. 32
3. การประเมินความเสี่ยง
เป็นกระบวนการที่ต่อเนื่องจากการระบุหรือบ่งชี้เหตุการณ์หรือการระบุความเสี่ยงเรียบร้อยแล้วต้องประเมิน
ว่าความเสี่ยงเหล่านั้นจะมีผลกระทบและโอกาสเกิด ความรุนแรงระดับใด
คณะท้างานบริหารความเสี่ยงฯ เขื่อนศรีนครินทร์ ได้ร่วมกันประเมินความเสี่ยงตามเกณฑ์การประเมินความ
เสี่ยงของเขื่อนศรีนครินทร์
เมื่อได้ผลการประเมินความเสี่ยงแล้ว จึงน้าผลดังกล่าวไปจัดล้าดับความส้าคัญของความเสี่ยง โดยเรียง
ตามล้าดับตามระดับความรุนแรงของความเสี่ยง โดยค้านึงผลกระทบจากผลกระทบสูงมากกว่าโอกาสเกิด ดังแสดงใน
ตารางการจัดล้าดับความส้าคัญของความเสี่ยง
4. การจัดการความเสี่ยง (Risk Responses)
เป็นกระบวนการที่เขื่อนศรีนครินทร์ ได้บูรณาการกับการจัดท้าแผนปฏิบัติการของเขื่อนศรีนครินทร์ โดยน้า
ผลการประเมินความเสี่ยงเป็นข้อมูลน้าเข้ากับกระบวนการวิเคราะห์ SWOT จัดท้า SWOT Matrix และจัดท้า
Initiatives โดย Initiatives ที่ได้จะเป็นกลยุทธ์และกิจกรรม เพื่อจัดการความเสี่ยงโดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อลดโอกาส
เกิดความเสี่ยง ลดผลกระทบจากความเสี่ยง
5. กิจกรรมควบคุม
เป็นกระบวนการต่อเนื่องจากกระบวนการจัดการความเสี่ยง จากนั้นผู้รับผิดชอบในแต่ละหน่วยงาน จะจัดท้า
แผนปฏิบัติการรองรับ ซึ่งจะได้แผนงานมาตรการและกิจกรรมในการบริหารจัดการความเสี่ยง ดังแสดงในตารางการ
บริหารความเสี่ยงของปี 2560
6. การติดตามผล
เป็นกิจกรรมที่ใช้เพื่อติดตามและปรับปรุงกิจกรรมควบคุม ความเสี่ยงต่างๆ อย่างสม่้าเสมอและต่อเนื่อง โดย
ผู้บริหารของเขื่อนศรีนครินทร์ ติดตามความก้าวหน้าของผลการด้าเนินงานและมีการจัดท้ารายงานอย่างสม่้าเสมอเป็น
รายเดือน รายไตรมาส รายครึ่งปี และรายปี คณะท้างานบริหารความเสี่ยงและควบคุมภายในเขื่อนศรีนครินทร์ เป็น
ผู้ด้าเนินการจัดท้ารายงานฯ ดังกล่าว
นอกจากนี้ยังมีการสอบทานการบริหารความเสี่ยงและควบคุมภายในของเขื่อนฯโดยคณะผู้ตรวจประเมินผล
การควบคุมภายในด้วยตนเองของเขื่อนศรีนครินทร์ และคณะผู้ตรวจประเมินผลการด้าเนินงานบริหารความเสี่ยงและ
ควบคุมภายในด้วยตนเอง สายงาน รวฟ.
27