Page 361 - วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชํานัญพิเศษ
P. 361

ฉบับพิเศษ ประจำ�ปี 2564




            คําขอบังคับ และมาตรา 53 ให้ศาลแรงงานมีอํานาจกําหนดให้คําพิพากษาหรือคําส่งผูกพัน
                                                                                        ั
            นายจ้างและลูกจ้างอื่นซึ่งมีผลประโยชน์ร่วมกันในมูลความแห่งคดีได้ด้วย อันเป็นการให้อํานาจ
                                                                                     ี
                                                             ั
                                                                               ั
            ศาลแรงงานดําเนินคดีและพิพากษาได้อย่างกว้างขวาง ท้งยังสามารถออกคําส่งตามท่เห็นสมควร
                                                                     ื
            เพ่อคุ้มครองประโยชน์ของคู่ความหรือบุคคลท่เก่ยวข้องหรือเพ่อบังคับตามคําพิพากษาหรือ
                                                      ี
               ื
                                                        ี
                                                                                 ั
            คําส่งตามมาตรา 58 ซ่งมิได้มีมาตรฐานน้อยไปกว่าการดําเนินคดีแบบกลุ่ม ดังน้น เม่อพิจารณา
                ั
                                ึ
                                                                                     ื
                                                                                        ั
                                          ี
                                                                                           ี
            ถึงลักษณะคดีน้ตามคําร้องและท่ได้ความตามทางไต่สวนและข้ออุทธรณ์ของโจทก์ท้งส่แล้ว
                          ี
            เห็นว่า การดําเนินคดีอย่างสามัญจะสะดวก ประหยัด รวดเร็ว เสมอภาค เป็นธรรม และ
            มีประสิทธิภาพมากกว่าการดําเนินคดีแบบกลุ่มซ่งเป็นไปตามเจตนารมณ์ของการดําเนินคด      ี
                                                        ึ
                                                                              ี
                                                                            ั
            แรงงานและการดําเนินคดีแบบกลุ่ม กรณีไม่มีเหตุสมควรอนุญาตให้โจทก์ท้งส่ดําเนินคดีแบบกลุ่ม
            6.  ค�าพิพากษาในคดีแรงงาน
                                      ั
                                                                                              ั
                                                       ั
                    คําพิพากษาหรือคําส่งของศาลแรงงานน้น ตามมาตรา 51 แห่งพระราชบัญญัติจัดต้ง
                                                                                         ื
            ศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. 2522 ให้ทําเป็นหนังสือและต้องกล่าวหรอแสดง
                                                                                             ั
                       ี
            ข้อเท็จจริงท่ฟังได้โดยสรุปและคําวินิจฉัยในประเด็นแห่งคดีพร้อมด้วยเหตุผลแห่งคําวินิจฉัยน้น
                                                                                           ั
            การทําคําพิพากษาของศาลแรงงานจึงไม่จําต้องมีรายละเอียดเหมือนคําพิพากษาในคดีแพ่งท่วไป
                                                                                       ้
            ในทางปฏิบัติคําพิพากษาของศาลแรงงานจึงอาจรวบรัดไปบ้าง แต่ถ้าประกอบไปด้วยขอเท็จจริง
                                                                                           ื
                                                                                     ั
                                                                                         ็
            ท่ฟังได้โดยสรุปและคําวินิจฉัยในประเด็นแห่งคดีพร้อมด้วยเหตุผลแห่งคําวินิจฉัยน้น กถอว่า
              ี
            ชอบด้วยพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. 2522 มาตรา 51
                                                                            ั
            (ฎีกาท่ 4015/2561, 259-260/2551) อย่างไรก็ดี คําพิพากษาหรือคําส่งของศาลแรงงานน้น
                  ี
                                                                                             ั
            ตามมาตรา 54 ให้อุทธรณ์คําพิพากษาหรือคําส่งได้เฉพาะในข้อกฎหมาย ดังน้น ปัญหาข้อเท็จจริง
                                                    ั
                                                                              ั
                                                                   ั
            ในคดีแรงงานจึงไม่สามารถอุทธรณ์ได้และยุติไปตามท่ศาลช้นต้นวินิจฉัย คําพิพากษาของ
                                                              ี
                                                                     ื
            ศาลแรงงานจึงควรต้องมีการฟังข้อเท็จจริงในคดีให้ครบถ้วนเพ่อศาลสูงจะสามารถนํามาใช้
                                        ี
            ในการวินิจฉัยคดีได้  นอกจากน้อํานาจในการทําคําพิพากษาของศาลในคดีแรงงานยังมีลักษณะ
                             18
            พิเศษต่างไปจากคดีแพ่งทั่วไปอีกตามมาตรา 52 และมาตรา 53 คือ ศาลแรงงานอาจพิพากษา
                  ั
            หรือส่งเกินคําขอบังคับเพ่อความเป็นธรรม และอาจกําหนดให้คําพิพากษาหรือคําส่งน้นผูกพัน
                                   ื
                                                                                       ั
                                                                                     ั
            นายจ้างและลูกจ้างอื่นซึ่งมีผลประโยชน์ร่วมกันในมูลความแห่งคดีด้วยก็ได้ ยกตัวอย่างเช่น
                    18   พิเชฐ โพธิวิจิตร, ปิติ โพธิวิจิตร และปริญญ์ โพธิวิจิตร, คู่มือด�าเนินคดีแรงงานส�าหรับทนายความและผู้ประกอบ
            วิชาชีพกฎหมาย, (2561) น. 171.

                                                                                             359
   356   357   358   359   360   361   362   363   364   365   366