Page 487 - วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชํานัญพิเศษ
P. 487
ฉบับพิเศษ ประจำ�ปี 2564
การสิ้นสุดการเป็นคู่ชีวิต
ิ
17. การเป็นคู่ชีวิตส้นสุดลงด้วยความตาย ศาลพิพากษาให้เพิกถอนการจดทะเบียน
คู่ชีวิตที่เป็นโมฆียะ และการเลิกการเป็นคู่ชีวิต (หรือการหย่าหากเป็นคู่สมรส) (ร่างมาตรา 32)
็
18. การเลิกการเป็นคู่ชีวตจะเลกโดยความยินยอมของท้งสองฝ่ายกได้ หรือเลิกโดย
ิ
ิ
ั
คําพิพากษาของศาลก็ได้ (ร่างมาตรา 34)
19. การเลิกการเป็นคู่ชีวิตโดยความยินยอมต้องทําเป็นหนังสือ มีพยานลงลายมือช่อ
ื
2 คน และต้องนําหนังสือเลิกการเป็นคู่ชีวิตไปจดทะเบียนต่อนายอําเภอหรือผู้อํานวยการเขต
การเลิกการเป็นคู่ชีวิตจึงจะมีผลสมบูรณ์ (ร่างมาตรา 35)
ิ
ิ
ู
ี
ี
ู
ํ
ิ
20. การเลกการเป็นค่ชวตโดยคาพพากษาของศาล ค่ชวตต้องฟ้องคดต่อศาลเยาวชน
ี
ิ
และครอบครัว เหตุฟ้องคดีมี 12 เหตุ (ร่างมาตรา 36) ทํานองเดียวกับเหตุฟ้องหย่าตามประมวล
ี
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1516 ตามพฤติการณ์ท่คู่ชีวิตได้กระทําผิดต่อหน้าท่คู่ชีวิต
ี
เช่น การไม่ซื่อสัตย์ต่อการเป็นคู่ชีวิตทางประเวณี การประพฤติชั่ว การทําร้าย ทรมานร่างกาย
หรือจิตใจ หมิ่นประมาทหรือเหยียดหยาม การจงใจละทิ้งร้าง การมีสภาพแห่งกายทําให้ไม่อาจ
กระทําหรือยอมรับการกระทําเพื่อสนองความใคร่ได้ตลอดกาล ฯลฯ เป็นต้น
การรับบุตรบุญธรรม
ึ
ึ
21. คู่ชีวิตฝ่ายหน่งจะจดทะเบียนรับผู้เยาว์ซ่งเป็นบุตรบุญธรรมของคู่ชีวิตอีกฝ่ายหน่ง
ึ
มาเป็นบุตรบุญธรรมของตนก็ได้ (ร่างมาตรา 41)
22. ถ้าคู่ชีวิตจดทะเบียนคู่ชีวิตกับบุตรบุญธรรมมีผลเป็นการยกเลิกการรับบุตรบุญธรรม
(ร่างมาตรา 44)
การรับมรดก
23. ถ้าคู่ชีวิตถึงแก่ความตาย คู่ชีวิตอีกฝ่ายหน่งมีสิทธิและหน้าท่เช่นเดียวกับคู่สมรส
ึ
ี
ตามกฎหมายว่าด้วยมรดก (ร่างมาตรา 45)
485