Page 482 - วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชํานัญพิเศษ
P. 482
วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชำานัญพิเศษ
3. ขณะเดียวกันสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เสนอร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพ่มเติม
ิ
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... เพื่อแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่ง
และพาณิชย์ บรรพ 1 บรรพ 5 (ครอบครัว) และบรรพ 6 (มรดก) ให้บุคคลเพศเดียวกันสามารถ
ั
ํ
ิ
ั
ั
ี
้
ั
ํ
้
่
ั
ี
ทาการหมน ทาการสมรส และรับมรดกกนไดเชนเดยวกบบคคลตางเพศกน โดยไดมการเปดรับฟง
้
ุ
่
ความคิดเห็นของประชาชน และเสนอร่างพระราชบัญญัติฉบับน้ให้สภาผู้แทนราษฎรพิจารณา
ี
พร้อมกับร่างพระราชบัญญัติคู่ชีวิต พ.ศ. ....
4. กฎหมายคู่ชีวิตมีหลักการและเหตุผลเพ่อให้บุคคลเพศเดยวกนโดยกําเนดมากอตง
่
ั
ื
ี
้
ิ
ั
ื
ี
ครอบครัวโดยการจดทะเบียนเป็นคู่ชีวิตกัน เม่อเป็นคู่ชีวิตกันแล้วคู่ชีวิตมีสิทธิและหน้าท่เช่นเดียวกับ
ิ
ี
คู่สมรสท่ต่างเพศกัน โดยกฎหมายมีบทบัญญัติ 46 มาตรา และมีการแก้ไขเพ่มเติมประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5 ครอบครัว อีก 5 มาตรา เพื่อแก้ไขเพิ่มเติมการสมรสซ้อน
กับการจดทะเบียนคู่ชีวิตให้เป็นโมฆะ เพ่มเติมเหตุฟ้องหย่าในการมีภริยาน้อยหรือมีคู่ชีวิต
ิ
ื
หรือกระทําหรือยอมรับการกระทําของผู้อ่นเพื่อสนองความใคร่เป็นอาจิณให้เป็นเหตุฟ้องหย่าได้
ี
ี
และเพ่มเติมให้บุคคลท่ได้รับค่าเลี้ยงชีพหากจดทะเบียนคู่ชีวิตหมดสิทธิท่จะได้รับค่าเล้ยงชีพด้วย
ิ
ี
ื
5. เพ่อให้การเป็นคู่ชีวิตมีผลเช่นเดียวกับสมรสโดยไม่ต้องมีบทบัญญัติเป็นรายละเอียด
เก่ยวกับการจัดการทรัพย์สินระหว่างคู่ชีวิต หน้สินของคู่ชีวิต การแบ่งทรัพย์สินของคู่ชีวิต
ี
ี
เม่อเลิกการเป็นคู่ชีวิต กฎหมายคู่ชีวิตจึงมีบทท่วไปท่เป็นบทกวาดในร่างมาตรา 15 กําหนดให้นํา
ี
ื
ั
บทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยครอบครัวมาใช้บังคับแก่คู่ชีวิตด้วยโดย
อนุโลม แต่ทั้งนี้คู่ชีวิตที่เป็นชายทั้งสองคน หรือเป็นหญิงทั้งสองคนนี้ไม่มีคนใดคนหนึ่งเป็นสามี
ั
ี
หรือเป็นภริยาเหมือนเช่นคู่สมรส คงมีสถานะเพียงเป็นคู่ชีวิตท้งสองคนเท่าน้น นอกจากน้คู่ชีวิต
ั
ื
ี
ไม่มีสิทธิและหน้าท่เหมือนเช่นสามีหรือภริยาตามกฎหมายอ่นนอกจากท่บัญญัติไว้ในกฎหมาย
ี
คู่ชีวิตโดยชัดแจ้ง เช่น ตามกฎหมายสัญชาติ กฎหมายชื่อบุคคล เป็นต้น
6. กฎหมายคู่ชีวิตไม่มีบทบัญญัติเกี่ยวกับบิดามารดากับบุตร สิทธิและหน้าที่ของบิดา
ั
ี
มารดาและบุตร เพราะโดยสภาพคู่ชีวิตไม่อาจมีบุตรได้ หากคู่ชีวิตท่เป็นหญิงต้งครรภ์ระหว่าง
การเป็นคู่ชีวิตโดยการผสมเทียม บุตรท่เกิดมาต้องถือว่าเป็นบุตรโดยชอบด้วยกฎหมายของหญิง
ี
ที่ให้กําเนิดแต่ผู้เดียวเท่านั้น
480