Page 483 - วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชํานัญพิเศษ
P. 483
ฉบับพิเศษ ประจำ�ปี 2564
ความหมายของการเป็น “คู่ชีวิต”
7. กฎหมายคู่ชีวิตกําหนดความหมายของการเป็น “คู่ชีวิต” ว่าหมายถึง บุคคลสองคน
ึ
ซ่งเป็นเพศเดียวกันโดยกําเนิดและได้จดทะเบียนคู่ชีวิตตามพระราชบัญญัติคู่ชีวิต (ร่างมาตรา 3)
คู่ชีวิตจะท�าการหมั้นกันหรือให้สินสอดกันไม่ได้
ั
8. กฎหมายคู่ชีวิตไม่ยินยอมให้บุคคลเพศเดียวกันทําการหม้นหรือให้สินสอดแก่กัน
ทั้งนี้เพราะประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5 ครอบครัว มาตรา 1437 กําหนดแบบ
ั
ั
ั
ของการหมั้นหรือสัญญาหม้นว่าการหม้นจะต้องเป็นชายกับหญิงหม้นกัน โดยชายมอบของหม้น
ั
ี
ื
ั
ท่เป็นของชายให้แก่หญิงเพ่อเป็นหลักฐานว่าจะสมรสกับหญิง หากหญิงกับหญิงหม้นกันหรือชาย
ั
กับชายหม้นกันแม้จะมีของหม้นมอบให้แก่กันก็ไม่ถือว่าเป็นสัญญาหม้น แม้ชายกับหญิงหม้นกัน
ั
ั
ั
ั
ั
ั
ี
โดยหญิงเป็นผู้มอบของหม้นให้แก่ชาย สัญญาหม้นก็ไม่สมบูรณ์เพราะไม่มีของหม้นท่ต้องเป็น
ี
ิ
ี
ั
ของชายมอบให้เป็นกรรมสิทธ์แก่หญิง นอกจากน้ชายและหญิงท่หม้นกันจะต้องมีเจตนาสมรสกัน
ิ
ั
ี
ั
ี
โดยจดทะเบยนสมรสตามกฎหมายด้วย หากไม่มเจตนาสมรสกนตามกฎหมาย ทรพย์สนท ่ ี
ชายให้แก่หญิงไม่ใช่เงินของหม้นแต่เป็นการให้โดยเสน่หา แม้หญิงไม่ยอมสมรสกับชาย
ั
ชายก็เรียกคืนฐานผิดสัญญาหมั้นไม่ได้
ส่วนสินสอดนั้นมาตรา 1437 วรรคสาม กําหนดว่าต้องเป็นทรัพย์สินที่ชายมอบให้เป็น
ิ
ื
กรรมสิทธ์แก่บิดามารดาหญิงเพ่อตอบแทนการท่หญิงยอมสมรสตามกฎหมายกับชาย คู่สัญญา
ี
สินสอดต้องเป็นชายกับบิดามารดาหญิงเช่นเดียวกันกับสัญญาหม้น หากมีการให้ทรัพย์สินแก่กัน
ั
โดยไม่มีเจตนาสมรสกันตามกฎหมายก็ไม่ใช่สินสอดแต่เป็นการให้โดยเสน่หา แม้ไม่มีการสมรส
ก็เรียกคืนไม่ได้
การท่กฎหมายคู่ชีวิตไม่มีบทบัญญัติให้ชายกับชาย หรือหญิงกับหญิงทําสัญญาหม้น
ั
ี
หรือสัญญาสินสอดต่อกัน สอดคล้องกับหลักการของ Civil Partnership Act 2004 ของสหราช
อาณาจักร มาตรา 73 และมาตรา 197 ที่กําหนดให้สัญญาจะจดทะเบียนคู่ชีวิตไม่มีผลใช้บังคับ
ฟ้องร้องกันไม่ได้ ร่างมาตรา 6 แห่งร่างพระราชบัญญัติคู่ชีวิตจึงกําหนดว่าสัญญาจะจด
ี
ทะเบียนคู่ชีวิตจะมาฟ้องศาลให้บังคับให้จดทะเบียนคู่ชีวิตไม่ได้ และถ้ามีข้อตกลงจะให้เบ้ยปรับ
เมื่อผิดสัญญาจะจดทะเบียนคู่ชีวิตข้อตกลงนั้นเป็นโมฆะ แต่อย่างไรก็ดีหากมีข้อตกลงกันอย่าง
ิ
ชดแจ้งว่าถ้าผดสญญาจะจดทะเบียนค่ชีวิต ค่สญญาต้องรบผดใช้ค่าทดแทน เช่น ค่าทดแทน
ั
ู
ู
ั
ิ
ั
ั
ี
ื
ความเสยหายต่อชอเสยง ค่าใช้จ่ายในการเตรยมการจดทะเบยนค่ชวต และค่าเสยหายในการ
่
ี
ี
ู
ี
ี
ิ
ี
ื
จัดการทรัพย์สินหรืออาชีพเพ่อเตรียมการจดทะเบียนคู่ชีวิต โดยอนุโลมตามประมวลกฎหมาย
ี
แพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1440 น้น ข้อตกลงเช่นว่าน้ใช้บังคับได้เพราะเฉพาะข้อตกลงจะให้
ั
481