Page 485 - วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชํานัญพิเศษ
P. 485
ฉบับพิเศษ ประจำ�ปี 2564
ี
ท่กําหนดอายุ 20 ปีบริบูรณ์ แต่ไม่ยอมให้มีการขออนุญาตศาลขอจดทะเบียนคู่ชีวิตก่อนอาย ุ
ครบ 17 ปีบริบูรณ์เหมือนกับการจดทะเบียนสมรส
10.2 จดทะเบียนคู่ชีวิตโดยสําคัญผิดตัวคู่ชีวิต (ร่างมาตรา 33 (2))
10.3 จดทะเบียนคู่ชีวิตโดยถูกกลฉ้อฉลอันถึงขนาด (ร่างมาตรา 33 (3))
10.4 จดทะเบียนคู่ชีวิตโดยถูกข่มขู่อันถึงขนาด (ร่างมาตรา 33 (4))
ี
10.5 จดทะเบียนคู่ชีวิตของผู้เยาว์ท่ไม่ได้รับความยินยอมของบิดามารดาหรือผู้ปกครอง
(ร่างมาตรา 33 (5))
นายทะเบียนในการจดทะเบียนคู่ชีวิต
ี
ู
11. นายอําเภอหรือผู้อํานวยการเขตเป็นนายทะเบียนผ้มีหน้าท่ในการรับจดทะเบียน
คู่ชีวิต ส่วนการจดทะเบียนคู่ชีวิตท่กระทํานอกราชอาณาจักรให้กงสุลไทยหรือข้าราชการ
ี
สถานทูตไทยซึ่งได้รับมอบหมายเป็นนายทะเบียน (ร่างมาตรา 10)
สิทธิและหน้าที่ของคู่ชีวิต
12. คู่ชีวิตมีสิทธิและหน้าท่ต่อกันเช่นเดียวกับคู่สมรสโดยอนุโลม (ร่างมาตรา 15)
ี
หากเป็นผู้เยาว์ก็บรรลุนิติภาวะเมื่อจดทะเบียนคู่ชีวิต (ร่างมาตรา 16) มีภูมิลําเนาแห่งเดียวกัน
ึ
(ร่างมาตรา 17) มีสิทธิร้องขอให้ศาลมีคําส่งหรือเพิกถอนคําส่งให้คู่ชีวิตอีกฝ่ายหน่งเป็นคนไร้ความ
ั
ั
ึ
สามารถหรือคนเสมือนไร้ความสามารถ (ร่างมาตรา 18) หากคู่ชีวิตฝ่ายหน่งไปเสียจากภูมิลําเนา
ี
ั
ั
หรือถ่นท่อยู่โดยไม่ได้ต้งตัวแทนรับมอบอํานาจท่วไปไว้และมีการจัดทําบัญชีทรัพย์สิน คู่ชีวิต
ิ
์
ั
ิ
่
็
ื
ั
ั
ื
ี
่
ึ
ี
็
ี
่
่
่
อกฝายหนงมสถานะเปนคสมรสในการเปนพยานลงลายมอชอรบรองบญชทรพยสน (รางมาตรา 19)
ู
คู่ชีวิตมีอํานาจจัดการแทนผู้เสียหายเช่นเดียวกับสามีหรือภริยาตามประมวลกฎหมายวิธ ี
พิจารณาความอาญา เช่น ร้องทุกข์เป็นโจทก์ฟ้องคดีอาญา ยอมความในคดีความผิดต่อส่วนตัว
ดําเนินคดีต่างผู้ตายได้ (ร่างมาตรา 21) คู่ชีวิตต้องอยู่ร่วมกันเป็นครอบครัวและช่วยเหลืออุปการะ
เล้ยงดูกันตามความสามารถและฐานะของตน (ร่างมาตรา 22) หากมีเหตุท่ไม่สามารถอยู่ร่วมกัน
ี
ี
เป็นครอบครัวโดยปกติสขหรอจะเกดอันตรายแก่กาย จตใจ หรอทําลายความผาสุกอย่างมาก
ื
ุ
ิ
ิ
ื
ื
ั
มีสิทธิย่นคําร้องต่อศาลขอให้ส่งอนุญาตให้แยกกันอยู่ต่างหากเป็นการช่วคราวได้ (ร่างมาตรา 23)
ั
483