Page 133 - ผลงานวิชาการโครงการมหกรรมคุณภาพ โรงพยาบาลตรัง 2562
P. 133

“ศรัทธา”



               โดย พว.กษมภัฏ สวัสดิรักษ์ พยาบาลวิชาชีพ


               สังกัดงานศูนย์มะเร็และการดูแลแบบประคับประคอง โรงพยาบาลตรัง



                       “ หมอบอกกับคุณหรือยังคะว่าหลังจากนี้คุณต้องรักษาอย่างไรต่อ”


               หลังจากสิ้นค าถามของดิฉันผู้ป่วยรายนี้ก็สีหน้าสลด “หมอบอกแล้วว่า


               หลังจากนี้ต้องไปฉายแสงที่ มอ.”  แววตากังวลในผู้ป่วยรายนี้ก็มีมากขึ้น

               และบ่นพึมพ าว่าชั้นคงเป็นมากใช่ไหมจึงต้องไปฉายแสง นึ่งไปสักพักก็


               บอกว่าไม่ไปได้ไหม ดิฉันจับมือผู้ป่วยเบาแล้วถามว่า“ท าไมหรือคะที่


               บอกว่าไม่อยากไป”ผู้ป่วยตอบมาว่าคงต้องใช้จ่ายเยอะแน่ๆชั้นมีภาระ


               มากชั้นไม่มีตังมากพอหรอก”



                       นี้คือตัวอย่างจากหลายกรณีที่ดิฉันได้พูดคุยเพื่อเตรียมตัวส่งผู้ป่วย


               ไปรับการฉายรังสีรักษาหรือเรียกกันว่า “ฉายแสง”  ผู้ป่วยมักจะกังวลไม่

               ว่าจะกลัวว่าฉายแสง รับรู้ไปว่าหากต้องไปมอ.เพื่อรับการฉายแสงแล้ว

               ไม่รอดสักราย บ้างก็กลัวผลข้างเคียงของการฉายแสง บ้างก็ไม่อยากไป

               เพราะไกลบ้านไม่มีคนดูแล หลายคนกังวลเรื่องค่าใช้จ่าย ซึ่งทุกค าถาม

               ที่ผู้ป่วยกล่าวมานั้นเกิดจากความวิตกกังวล ความไม่รู้ข้อมูล ไม่รู้วิธีการ

               ดูแลตนเองที่ถูกต้อง บางคนปรับตัวไม่ได้ หากต้องไกลบ้าน ซึ่งมีเหตุผล

               แตกต่างกันไป



                       กรณีที่กล่าวในข้างต้นเป็นตัวอย่างผู้ป่วยที่ลุ้นสุดชีวิตว่าเค้าจะ


               ได้รับการฉายแสงได้หรือไม่และทันภายใน 42 วันตามเกณฑ์ตัวชี้วัดที่


               ก าหนดหรือไม่  ผู้ป่วยรายนี้เป็นผู้ป่วยมะเร็งเต้านมระยะที่  2  .ได้รับเคมี

               บ าบัดก่อนและรับการผ่าตัดเต้านมด้านขวาตามมาแล้วอันตับต่อไปเพื่อ

               ลดการกลับเป็นซ้ าผู้ป่วยต้องได้รับการฉายแสงและรับยาตัวแพงๆ
   128   129   130   131   132   133   134   135   136   137   138