Page 328 - Liver Diseases in Children
P. 328

318      โรคตับในเด็ก




              pthaigastro.org
            ของมะเร็งไปที่ปอด แต่หลังให้เคมีบ�าบัดแล้วก้อน  กำรพิจำรณำส่งต่อผู้ป่วยมำปลูกถ่ำยตับ   22
                   ี
            มะเร็งท่ปอดนั้นหายไป  หรือเหลืออยู่ในบริเวณที ่     ระยะเวลาที่เหมาะสมในการส่งต่อผู้ป่วยมารับ
            สามารถตัดออกได้หมดก็ยังสามารถรักษาได้ด้วยการ  การปลูกถ่ายตับมีความส�าคัญอย่างยิ่ง เพื่อให้ได้ผล

            ปลูกถ่ายตับเช่นกัน ส่วนมะเร็งตับชนิดอื่น ๆ เช่น   การรักษาท่มีประสิทธิภาพทั้งในระยะสั้นและ
                                                                     ี
            hepatocellular carcinoma พบได้น้อยในเด็ก 20,21
                                                          ระยะยาว เพื่อท�าการประเมิน และเตรียมผู้ป่วยรวม
            ข้อห้ำมของกำรปลูกถ่ำยตับ     22               ท้งผู้ให้อวัยวะในกรณีปลูกถ่ายตับจากพ่อหรือแม่สู่
                                                           ั
                                                                     �
                                                          ลูกให้พร้อมสาหรับการผ่าตัด อย่างไรก็ตามช่วงเวลา
                 เนื่องจากการปลูกถ่ายตับเป็นการผ่าตัดที่มี
                                                                                  ั
                                                           ี
                   ี
                                              ั
                      ู
                   ่
            ความเสยงสง และมีความขาดแคลนอวยวะจากผู้        ท่เหมาะสมในการส่งตัวมาน้นมีความแตกต่างกัน
                                                                        ี
                                                           ึ
            บริจาค การพิจารณาว่าผู้ป่วยรายใดเหมาะสมหรือไม่  ข้นอยู่กับข้อบ่งช้ของผู้ป่วยแต่ละรายว่าเป็นภาวะที่มี
                                                     ิ
            ที่จะรับการปลูกถ่ายตับจึงมีความจ�าเป็นอย่างย่ง   ความเร่งด่วนหรือไม่ กล่าวคือ
                                                                                                 ื
                        ี
            วัตถุประสงค์ท่ส�าคัญในการปลูกถ่ายตับ คือ ท�าให้      1. ในกรณีตับวายเฉียบพลันหรือโรคตับเร้อรัง
                                              ี
            ผู้ป่วยรอดชีวิตและมีคุณภาพของชีวิตท่ดีหลังการ  ที่การท�างานของตับล้มเหลวเฉียบพลัน  (acute
            ผ่าตัด ดังน้นในกรณีที่พิจารณาแล้วพบว่า ผู้ป่วยมี  decompensation of established liver disease)
                      ั
                                                                                             ี
            ความเส่ยงสูงที่จะเสียชีวิตไม่ว่าจะในขณะหรือหลัง  ควรท�าการติดต่อส่งตัวไปยังโรงพยาบาลท่เป็นศูนย์
                  ี
                                                                          ื
            ผ่าตัด อาการของโรคยังมีความรุนแรงมาก รวมทั้ง  ปลูกถ่ายตับทันที เพ่อจะได้รับการประเมินและผ่าตัด
                                       ็
                         ่
            มีคุณภาพชีวิตทีไม่ดีหลังผ่าตัด กไม่ควรท�าการรักษา  ปลูกถ่ายตับแบบฉุกเฉินได้
            ด้วยการปลูกถ่ายตับ                                 2. ในกลุ่มที่เป็นโรคทางเมแทบอลิกที่เกี่ยวกับ
                                                              ี
                             ่
                                       ่
                      ื
                 โรคหรอภาวะทีเป็นข้อห้ามทีแน่นอน (absolute   ตับท่มีอาการรุนแรง และไม่สามารถควบคุมอาการ
            contraindications)  คือ  โรคมะเร็งที่มีการแพร่  ได้ด้วยยา หรือเป็นมะเร็งที่ไม่สามารถผ่าตัดได้ ควร
            กระจายออกนอกตับแล้ว (ยกเว้น hepatoblastoma    ส่งต่อมารับการประเมินแบบเร่งด่วน
                                                                           �
                                                                           ้
             ่
            ทีมีการกระจายไปปอด) ภาวะติดเชอทีรนแรงและ           3. ผู้ป่วยท่อนาดีตีบตันและยังไม่หายเหลือง
                                          ื
                                          ้
                                              ุ
                                             ่
            ควบคุมไม่ได้ โรคทางเมแทบอลิกที่มีความผิดปกติที่  โดยมีค่าบิลิรูบินรวม (total bilirubin) อยู่ระหว่าง
            รุนแรงของระบบอื่น ๆ ในร่างกายร่วมด้วย ภาวะตับ  2-6  มก./ดล.  หลังได้รับการผ่าตัด  Kasai  แล้ว
            วายจากยา valproate และภาวะความดันเลือดปอด     มากกว่า 3 เดือน ควรพิจารณาส่งต่อมาเพื่อประเมิน
            สูงเนื่องจากโรคตับเร้อรัง  (portopulmonary     แต่ถ้าค่าบิลิรูบินรวมสูงกว่า 6 มก./ดล. ควรรีบส่งตัว
                                ื
                           ่
            hypertension) ทไม่ตอบสนองต่อการรักษาด้วยยา       มาเพื่อประเมินโดยเร็ว
                           ี
            นอกจากนี้ยังมีโรคหรือภาวะที่การปลูกถ่ายตับอาจ      4. ควรพิจารณาและเตรียมการส่งต่อผู้ป่วยที่
                                                                                           ี
                                                                   ื
                                                                                                   ื
            ท�าให้ผู้ป่วยรอดชีวิตและดีขึ้นจากโรคได้บ้าง แต่  มีโรคตับเร้อรังและมีการท�างานของตับท่เลวลง เพ่อ
            ผลลัพธ์ในการรักษาโดยรวมอาจไม่ดี จึงจัดเป็นภาวะ  มาประเมินการปลูกถ่ายตับ ลักษณะอาการดังกล่าว
                                                                 ้
            หรือโรคทีไม่ควรได้รับการปลูกถ่ายตับ  (relative  ได้แก่ น�าหนักไม่ข้น การเติบโตล้มเหลว (growth
                                                                          ึ
                    ่
            contraindications) ดังแสดงในตารางที่ 16.2     failure) เลือดออกจากหลอดเลือดขอดที่หลอดอาหาร
   323   324   325   326   327   328   329   330   331   332   333