Page 12 - E-book
P. 12

โครงการ “การพัฒนาสมรรถนะของบุคลากร
                                               เพื อขับเคลื  อนเศรษฐกิจฐานราก

                    ในการสร้างมูลค่าเพิ มแก่สินค้าชุมชน” รุ่น 2




       การดําเนินการ                         ผลลัพธ์ที เกิดขึ นจริง
                                             ระดับ output
       1. ประชุมชี้แจงการฝกอบรมแก
                                              1. ผูเขารับการอบรมจํานวน 47 ราย เขารับการอบรมตามเปาหมายที่ตั้งไว
       กลุมเปาหมาย ผานระบบ VDO            และมีการพัฒนาสมรรถนะเฉพาะดานตามลักษณะงานที่ปฏิบัติ (FunctionalCompetency) ดาน


       Conference                            การคิดเชิงกลยุทธการคิดเชิงวิเคราะห การคิดเชิงสรางสรรค การคิดเชิงนวัตกรรมรวมถึงการพัฒนา

       2. ผูเขารับการอบรมศึกษาเอกสาร       และปรับปรุงอยางตอเนื่อง
                                              2. มีการเสนอโครงการ “การสงเสริมและพัฒนาสินคาชุมชน” จํานวน 22 โครงการ
       และวีดีโอออนไลน & เสนอราง
                                             จาก 22 สํานักงานพาณิชยจังหวัด แบงเปนสินคากลุมดั้งเดิม สินคาแปรรูป สินคาเครื่องใช และสินคา
       โครงการ “การสงเสริมและพัฒนา          ทอ/จักสาน

       สินคาชุมชน” วันที่ 19 - 30 พ.ย.      ระดับ outcome

       61                                    ผูเขารับการอบรมรอยละ 100 นําความรู / ทักษะที่ไดรับจากการฝกอบรมไปปรับใชในการปฏิบัติงาน
                                             และการดําเนินโครงการ “การสงเสริมและพัฒนาสินคาชุมชน” ในพื้นที่จังหวัดของตนซึ่งอยูในระดับ
       3. การฝกอบรมครั้งที่ 1 วันที่ 11 -   มากและมากที่สุด สูงถึงรอยละ 80.95 และในระดับปานกลาง รอยละ 19.05

       14 ธ.ค. 61 มองมุมใหม : ขับ           ระดับ Impact

       เคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก ดวย             1.  มีกลุม/ชุมชนเปาหมายจาก 12 โครงการ (12 สพจ.) ที่มีรายไดเพิ่มขึ้นมากกวารอยละ 10 จาก
                                             การจําหนายสินคาชุมชน ไดแก ผลิตภัณฑแปรรูปจากขาว,ผาทอขอนแกน,
       เทคนิคการคิดเชิงกลยุทธ การคิด
                                             สับปะรดตราดสีทอง ,ผาบาติกกลุม Laisen batic, เสนหมี่จากขาวปลอดภัย บานเขาหินกลิ้ง,
       เชิงวิเคราะห การคิดเชิงสรางสรรค    ผลิตภัณฑมะพราวหนองแก,ขาวเกรียบปลาแหลมโพธิ์ ,ชมพูเพชรสายรุง,

       และ การคิดเชิงนวัตกรรม                สับปะรดภูเก็ต, เห็ด:สวนเห็ดไอดิน,ผลิตภัณฑจักสานจากตนคลุม,และผลิตภัณฑปลานิลกระชังแมนํ้า
                                             โขง
       ประกอบดวยการฟงบรรยาย +
                                             2.กลุม/ชุมชนเปาหมายมีความเขมแข็งและมีการทํางานอยางเปนระบบมากขึ้น
       case study + work shop +              รวมถึงมีการบูรณาการทํางานรวมกับหนวยงานอื่น

       ปรับแก/เขียนโครงการฉบับ               3.ไดโครงการ “ตนแบบในการสงเสริมและพัฒนาสินคาชุมชน” จํานวน 3 โครงการ ไดแก

       สมบูรณตามที่วิทยากรแนะนํา            - ดีเดนอันดับ 1 เพิ่มมูลคาสับปะรดตราดสีทองจังหวัดตราด
                                             - ดีเดนอันดับ 2 ยกระดับผาทอจังหวัดขอนแกน
                                             - ดีเดนอันดับ 3 สงเสริมและพัฒนาสินคาขาวเกรียบปลา ภูมิปญญาแหงปตตานี
                                             “ตนแบบในการเขียนโครงการ” คือ โครงการสงเสริมและพัฒนาขาวและผลิตภัณฑแปรรูปจากขาว

                                             (สพจ.กาญจนบุรี) โดยสถาบันฯ ไดนําตัวแทนจาก 4 หนวยงานดังกลาว มาถายทอดองคความรูและ
                                             ประสบการณการดําเนินงานผานเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรูขององคกร
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17