Page 10 - รางอบค ละโว ศรโคตรบรณ_Neat
P. 10

ด้านศิลปวัถนธรรม




           เรื่องราวขององค์พระธาตุพนมและเมืองศรีโคตรบูร ได้สะท้อนถึงภาพของ
    จุมจนและบ้านเมืองในแถบนี้ว่า ต่างมีเจ้าเมืองปกครองเป็นอิสระ ลักษณะเป็น

    บ้านเล็กเมืองน้อยกระจายอยู่ทั่วไป กลุ่มที่อยู่ในท้องถิ่นใกล้ องค์พระธาตุพนม
    ได้แก่ เมืองศรีโคตรบูร เมืองหนองหารหลวง เมืองหนองหารน้อย เมืองสาเกตุ
    หรือร้อยเอ็ดประตู เมืองพาน กลุ่มที่ห่างไกลองค์พระธาตุพนม ได้แก่ เมือง

    อินทปัฐนคร (กัมพูจา) และเมืองจุลณี (เวียดนาม) เมื่อระบบความเจื่อทาง
    ศาสนาได้แพร่เข้ามาจึงเกิดการผสมผสานทางวัถนธรรมขึ้นระหว่างกลุ่มจน

    โดยสอดแทรกผสมกับรูปแบบศิลปกรรมท้องถิ่น ลักษณะสถาปัตยกรรมของตัว                 รูปแบบศิลปะ

    อาคาร วิธีการเรียงอิฐ และหลักฐานที่พบภายใน องค์พระธาตุพนม ฉึ่งมีกรอบ          แบ่งออกเป็นสองส่วน คือ ส่วนล่างฉึ่งเคยเป็นปราสาทก่อ
    ประตูหินทราย และท่อโสมสูตรแสดงถึงความสัมพันธ์กับศิลปกรรมเขมร                  อิฐในศิลปะจามหรือเขมรก่อนเมืองพระนคร มีลวดลาย
                                                                                  สลักอิฐประดับบนเสาติดผนังที่มุมทั้งสี่ ฉุ้มประตูเป็นฉุ้มคด
                                                                                  โค้งมีใบระกาแหลมขนาดใหช่ เหนือขึ้นไปคือเรือนธาตุ
                                                                                  จ าลองหนึ่งจั้น ต่อด้วยฐานบัวลูกแก้วอกไก่ และส่วนบน
                                                                                  เป็นยอดทรงบัวเหลี่ยมในศิลปะล้านจ้างทรงเพรียวสูง
                                                                                  ประดับด้วยปูนปั้นปิดทองเป็นลายก้านต่อดอก












                                                                                             ภาพลวดลายพันธ์พฤกษาบนเสาติดผนัง
                                                                                   ขององค์พระธาตุพนม คล้ายศิลปะจามที่สร้างในสมัยฮั่ว
                                                                                  ล่าย (Hoa-Lai)และ ดงเดือง (Doug Doung) ฉึ่งเคยรุ่งเรือง
                 ภาพเส้นสันนิษฐานโครงสร้างพระธาตุพนม ๔ สมัย
                                                                                     อยู่ในประเทศเวียดนาม ราวพุทธศตวรรษที่ 14-15
       ที่มา :   http://www.watpamahachai.net/Document12_1.htm                        เนื่องจากมีแถบลวดลายประดับอยู่ตรงกลางเสา
                   http://www.archae.su.ac.th/art_in_thailand/?q=node/118               เหมือนกับที่พบตามปราสาทในศิลปะจาม
   5   6   7   8   9   10   11