Page 9 - รางอบค ละโว ศรโคตรบรณ_Neat
P. 9
ความเจริชรุ่งเรืองด้านต่างๆ
Newsletter Title PAGE 4
ด้านการเมืองการปกครองNA
ด้านการเมืองการปกครองME
ผู้คนในรัฐศรีโคตรบูรส่วนใหช่นับถือศาสนาพุทธนิกายเถรวาทตาม
แบบทวารวดี กษัตริย์ผู้ครองรัฐอุปถัมภ์ศาสนามาตั้งแต่เริ่มก่อตั้งเมือง
ดังที่ปรากฏในต านานพระธาตุพนม “อุรังคธาตุเทสนา” และเรามักเรียกกัน
ทั่วไปว่า “ต านานอุรังคธาตุ” สาระในต านานกล่าวถึง พชาศรีโคตรบูรผู้
ครองเมืองศรีโคตรบูรกลับจาติไปเกิดเป็นกษัตริย์ตามเมืองต่างๆหลาย
เมือง และมีความสัมพันธ์ทางเครือชาติเป็นเมืองพี่เมืองน้องกับกษัตริย์
อีกหลายเมืองใกล้เคียง
รัฐศรีโคตรบูรมีการปกครองแบบระบบกษัตริย์ปกครอง มาตั้งแต่จ่วง รูปสลักหินพระเจ้าจัยวรมันที่ ๗ และจารึก
พุทธศตวรรษที่ 14-15 จนถึงรัตนโกสินทร์ ถึงแม้ในครั้งสมัยที่ตกอยู่ภายใต้ ที่หลุยส์ ฟีโนต์ใจ้อ้างว่าพระเจ้าจัยวรมันที่๗ มี
การปกครองของล้านจ้าง กษัตริย์และจาวเมืองทั้ง 2 ฝั่งแม่น ้าโขงก็ยัง อ านาจเหนือดินแดนอาณาจักรศรีโคตรบูรเก่า
จ่วยกันดูแลท านุบ ารุงพระธาตุคู่บ้านคู่เมือง ดังที่ได้ปรากฏอยู่ในบันทึกของ ที่มา : http://lek-prapai.org/home/view.php?id=801
เดอลาปอกต์และฟรองฉิสกากนิเย่
“คนที่มีหน้าที่ดูแลรักษาวิหารวัดพระธาตุพนมนั้นมีประมาณ 2,000 คน
ท ากิจวัตรตามพระบรมราจโองการของพระเจ้าแผ่นดินสยาม และต่อมา
ไม่ได้เสียค่าภาษีอากร จาย 5 คน มีหน้าที่เฝ้าดูแลวิหารประมาณ 5 วัน เพื่อ
ฉ่อมแฉมสิ่งที่ทรุดโทรมและสักการบูจาพระธาตุทุกวัน ด้วยน ้าและข้าว ปลา
อาหาร เหมือนกับการบวงสรวงเทวาอารักษ์ คณะมโหรี สยามได้บรรเลง
เพลงให้เป็นเกียรติแก่พระธาตุทุกวัน พิธีไหว้พระธาตุมีขบวนฆ้องน าหน้า
วางดอกไม้ธูปเทียนบูจาทั้ง 4 ด้าน ภิกษุสวดมนต์ ถวายเครื่องไทยทานฉึ่ง
ประกอบด้วยมะพร้าว กล้วยอ้อย น ้าผึ้ง ฝ้ายเส้น หมาก และพลู”
ต านานอุรังคธาตุเป็นหลักฐานส าคัชในการศึกษาความ
เป็นมาของพระธาตุพนมและการเมืองการปกครองของ
รัฐศรีโคตรบูร
ที่มา :
http://lek-prapai.org/home/view.php?id=801
ต านานพระธาตุพนม "อุรังคนิทาน"
https://www.youtube.com/watch?v=eTwZ1aS1uL4