Page 8 - รางอบค ละโว ศรโคตรบรณ_Neat
P. 8

PAGE 2
                                                                                                                   PAGE 3





               ที่ตั้งของรัฐ






             รัฐศรีโคตรบูรอยู่ในแอ่งสกลนคร บริเวณลุ่มน ้าโขงทั้งฝั่งไทยและลาว
     แว่นแคว้นนี้มีอยู่ก่อนที่พวกลาวล้านจ้างจะเคลื่อนลงมามีอ านาจ

              ถ้ายึดเรื่องราวในต านานอุรังคธาตุเป็นหลัก เราอาจก าหนดเขตแดน
     ของแคว้นศรีโคตรบูรได้ว่าอยู่บริเวณสองฝั่งแม่น ้าโขง ตั้งแต่จังหวัด     ศิลปะพระพุทธรูปปางนาคปรกที่พบอยู่ตามวัดทั่วไปใน

     อุดรธานี หนองคาย เวียงจันทน์ และนครพนม ลงไปจรดจังหวัด                 เขตเวียงคุกฉึ่งเจื่อว่าเป็นเมืองคู่ของอาณาจักรศรีโคตรบูร
                                                                                       ตอนเหนือ เจื่อว่าเกิดมาก่อนส
     อุบลราจธานี ประมาณอย่างกว้างๆ คือ เขตเหนืออ าเภอโขงเจียมขึ้นไป ใน
     เขตนี้มีศาสนสถานที่ส าคัชเพียงแห่งเดียว คือ พระธาตุพนม ตั้งอยู่บน

     ดอยภูก าพร้า ริมแม่น ้าโขง  อาณาบริเวณแห่งนี้สัมพันธ์กับแอ่งสกลนคร
     แหล่งอายธรรมบ้านเจียงอันเก่าแก่ สันนิษฐานว่าปัจจุบันคือ จังหวัด
     นครพนม จะเห็นได้ว่าเป็นจื่อเมืองในสมัยปัจจุบันที่สัมพันธ์กับพระธาตุ

     พ น ม อ ั น เ ป ็ น ศ า ส น ส ถ า น ท ี ่ เ จ ื ่ อ ว ่ า ม ี อ า ย ุ เ ก ่ า แ ก ่ ท ี ่ ส ุ ด ใ น
     ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตามความเจื่อในต านานถือว่าดินแดนฉึ่งมีพระ

     ธาตุพนมเป็นศูนย์กลางของอ านาจทางการเมืองและวัถนธรรมนั้น เป็น
     อาณาบริเวณที่มีผู้คนตั้งถิ่นฐานรวมกันเป็นแว่นแคว้นมาครั้งแต่โบราณ
              และยังมีเอกสารจีนกล่าวถึงเมือง “เวินตาน หรือ เหวินถาน”

     มาตั้งแต่โบราณ และเจื่อว่าเมืองนี้เป็นจื่อเมืองเก่าของเวียงจันทน์ สมัยพระ
     เจ้าจัยวรมันที่ 7 ขยายตัวมาตามล าน ้าโขง จารึกกล่าวว่า “ขึ้นมาเมืองฉาย

     ฟองหรือไสฟงฉึ่งอยู่ไม่ไกลจากที่ตั้งของเวียงจันทน์นัก “




                                                                                 หลักฐานที่พบในภาคอีสานแสดงให้เห็นถึงการมา

                                                                           เยี่ยมเยือนหรือการตั้งถิ่นฐานของผู้คนที่มีวัถนธรรม
                                                                           ความเจื่อต่างกัน อาทิ เสมาหิน พระพุทธรูป เทวรูป
                                                                           ปราสาทแบบขอม เจ่น ปราสาทนารายณ์เจงเวง ปราสาท
                                                                           ธาตุดุม ปราสาทภูเพ็ก

                                                                           ที่มา :

                                                                           http://www.nakhonphanom.go.th/nakhonphanom/prot
                                                                           ectking/webdetail/tab4.php
   3   4   5   6   7   8   9   10   11