Page 51 - คู่มือการเขียนวิจัยและการอ้างอิง
P. 51

44


                      * กรณีการอางอิงโดยการสัมภาษณ มีมากกวา 5 อางอิง ไมตองนําไปอางในบรรณานุกรม
              ใหนํามาพิมพเปนภาคผนวก  ยกตัวอยาง “ภาคผนวก ก รายนามผูใหสัมภาษณ”



                        11.  การเขียนและการพิมพบรรณานุกรมของเอกสารที่ไมเปนหนังสือเลม



                            การเขียนและการพิมพบรรณานุกรมเอกสารที่ไมเปนหนังสือเลม เชน จดหมายเหตุ คําสั่งประกาศ
              เอกสารประกอบการสอนที่ไมเปนหนังสือเลม  เปนตน ใหลงชื่อผูแตงเปน รายการแรกหากไมปรากฏชื่อผูแตง

               ใหลงชื่อหนวยงานหรือสถาบันที่ผลิตหรือรับผิดชอบเอกสารนั้น ๆ เปน รายการแรก  โดยใชหลักเกณฑการลงชื่อ
              หนวยงานในบรรณานุกรม แลวลงเลขที่ของเอกสาร (ถามี) จากนั้นใหลงชื่อของเอกสาร วัน  เดือน  ป  ถาเอกสาร

              นั้นระบุปที่ไมใชพุทธศักราช ใหลงอักษรยอของศักราชนั้น ๆ ไวดวย  เชน  ค.ศ.  ร.ศ.  จ.ศ.  ดังตัวอยาง


                             11.1   จดหมายเหตุ

              กรมศิลปากร.    เอกสารรัชกาลที่  5  ม.59/3.    ราชการในเมืองลาวพวน.    31  สิงหาคม  ร.ศ.  109.
              หอสมุดแหงชาติ.    เลขที่ 12.    จดหมายเหตุรัชกาลที่ 3.    จ.ศ.  1206.



                            11.2  คําสั่ง
              มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.    คําสั่งมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ที่ 1077/2538 เรื่องใหขาราชการรักษาราชการแทน.

                      ลงวันที่  24  ตุลาคม  2538.



                            11.3  ประกาศ
              มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.    ประกาศมหาวิทยาลัยมหาสารคาม เรื่อง การรับสมัครบุคคลเขา
                      เปนนิสิตขั้นปริญญามหาบัณฑิต ภาคพิเศษ ประจําปการศึกษา 2539.     ลงวันที่  20 กรกฎาคม  2539.



                             11.4  เอกสารประกอบการสอนที่ไมเปนเลม

              รัถพร  ซังธาดา.    หนังสืออางอิง.    เอกสารประกอบการสอนวิชา  199108    ภาควิชา  บรรณารักษศาสตรและ
                      สารสนเทศศาสตร  คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร    มหาวิทยาลัยมหาสารคาม,  ม.ป.ป.
                             11.5  แผนปลิว

              มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.    สํานักวิทยบริการ.    สํานักวิทยบริการ  มหาวิทยาลัยมหาสารคาม,  2539.



                        12.  การเขียนและการพิมพบรรณานุกรมของวัสดุถายยอสวน  ใหเขียนหรือพิมพบรรณานุกรมตาม
              แบบการเขียนบรรณานุกรมของวัสดุอางอิงนั้น ๆ  แลวใหระบุประเภทของวัสดุไวหลังชื่อเรื่อง  สําหรับวัสดุอางอิง
              ถายยอสวนที่เปนภาษาไทยวาไมโครฟลม  หรือไมโครฟช  ตามแตชนิดของวัสดุยอสวนวาทําแบบใด  ถาเปนภาษา

               อังกฤษ  ใหใชคําวา  Microfi lm  หรือ  Microfi che  ดังตัวอยาง










               คูมือการเขียนบทนิพนธ
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56