Page 50 - คู่มือการเขียนวิจัยและการอ้างอิง
P. 50
43
ดังตัวอยาง
สมบูรณ เอื้อมอารีวงศ. “การนําคอมพิวเตอรมาใชในงานศูนยขอมูลทางโทรทัศน,” หองสมุด.
36(3) : 10-17 ; กรกฎาคม-กันยายน, 2535.
Snyder, Ilana. “Writing with Word Processors : A Research Overview,”
Educational Research. 35(1) : 49-68 ; Spring, 1993.
7. กฎหมายที่ตีพิมพในราชกิจจานุเบกษา ใหลงรายละเอียดดังนี้
“ชื่อกฎหมาย,”/ราชกิจจานุเบกษา.//เลมที่.//ตอนที่.//หนาที่ตีพิมพ.//เดือน/ป.
ดังตัวอยาง
“ประกาศทบวงมหาวิทยาลัยเรื่อง การแบงสวนราชการในมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ พ.ศ. 2529,”
ราชกิจจานุเบกษา. เลมที่ 103. ตอนที่ 139. หนา 36-42. 7 สิงหาคม 2529.
8. การเขียนและการพิมพบรรณานุกรมหนังสือพิมพ ใหใชรูปแบบดังนี้
ชื่อผูเขียนบทความ.//”ชื่อบทความหรือหัวขอขาว,”/ชื่อหนังสือพิมพ.//วัน/เดือน/ป.//
หนาที่ปรากฏบทความหรือขาว. ดังตัวอยาง
ตอเวลา (นามแฝง). “ศูนยสารสนเทศ กกท. แหลงขอมูลกีฬาไทย,” มติชน. 12 ตุลาคม 2542. หนา 22.
Ames, Paul. “EC Urge China to Open Markets,” The Nation. May 1, 1993. p. 35.
9. ในกรณีที่ไมปรากฏชื่อผูเขียนบทความ ใหใชชื่อบทความขึ้นตน ดังตัวอยาง
“พลังผักยังไมลงตัวสงใครลงเลือกตั้งซอมเขตดุสิต,” มติชน. 1 พฤษภาคม 2536. หนา 1, 28.
10. การเขียนและการพิมพบรรณานุกรมจากการสัมภาษณ ใหใชรูปแบบดังนี้
ชื่อผูใหสัมภาษณ…เปนผูใหสัมภาษณ,/ชื่อผูสัมภาษณ.…เปนผูสัมภาษณ,/ที่ไหนเมื่อไร.
ดังตัวอยาง
รัถพร ซังธาดา เปนผูใหสัมภาษณ, มณเฑียร พัวไพบูลย เปนผูสัมภาษณ, ที่สํานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัย
มหาสารคาม เมื่อวันที่ 3 ธันวาคม 2544.
คูมือการเขียนบทนิพนธ