Page 45 - คู่มือการเขียนวิจัยและการอ้างอิง
P. 45

38




                           6.8  หนังสือที่ผูแตงใชนามแฝง  ถานามจริงเปนที่รูจักทั่วไปแลว  ใหใชนามจริงและบอก   นามแฝง

              ไวดวย  ดังตัวอยาง



                      ศรีฟา  มหาวรรณ,  ม.ล.    ไมออน.    ศรีฟา  ลดาวัลย(นามแฝง).    กรุงเทพฯ  :  ดอกหญา, 2534.
                      Clemens,  Samuel  Langhorne.    Tom  Sawyer  Abroad  and  Tom  Sawyer  Detective.
              Mark  Twain (pseud.).    New  York  :  Dell,  1965.



                               กรณีไมทราบนามจริงใหถือนามแฝงเปนชื่อผูแตงและใหวงเล็บคําวา “นามแฝง”  หรือ  (pseud)

              ตอจากชื่อนามแฝง  ดังตัวอยาง


                      ศรีฟา  ลดาวัลย(นามแฝง).    ไมออน.    กรุงเทพฯ  :  ดอกหญา, 2534.

                      Mark  Twain (pseud.).    Tom  Sawyer  Abroad  and  Tom  Sawyer  Detective.
              New  York  :  Dell,  1965.



                           6.9  หนังสือที่ออกในนามขององคการหรือหนวยงานตาง ๆ ถาไมปรากฏชื่อผูแตงใหใชชื่อหนวยงาน
              หรือองคการนั้น ๆ  เปนผูแตง  ดังตัวอยาง


              กรมการศึกษานอกโรงเรียน.    สมเด็จครูแหงปวงชน.    กรุงเทพฯ  :  ฝายพัฒนาสื่อและนวัตกรรม  กองพัฒนาการ
              ศึกษานอกโรงเรียน กรมการศึกษานอกโรงเรียน, 2535.

              Unesco.    Adolescence  Education  Physical  Aspect  Module  One.    Bangkok  :  Unesco, 1991.

                           6.10 บรรณานุกรมที่มีชื่อผูแตงซํ้ากัน ใหลงชื่อผูแตงเฉพาะบรรณานุกรมชิ้นแรกสวนชิ้นตอ ๆ  มา

              ใหใชวิธีขีดเสนตรงความยาวเทากับ 1.5 เซ็นติเมตร โดยเริ่มจากขอบซายของหนา หลังจากนั้นใหใสเครื่องหมาย
              มหัพภาคเหมือนการลงชื่อผูแตงตามปกติ เสนดังกลาวนี้ควรอยูระดับ กึ่งกลางของตัวอักษรที่พิมพในบรรทัดนั้น ๆ

              ดังตัวอยาง

              อนุมานราชธน, พระยา. ขอคิดเรื่องภาษาไทยบางประการ. (แถบบันทึกเสียง). กรุงเทพฯ : วิทยาลัยวิชาการศึกษา

              ประสานมิตร,  ม.ป.ป.
                      ––––––––.    วัฒนธรรม.    โดย  เสฐียรโกเศศ (นามแฝง).    กรุงเทพฯ  :  บรรณาคาร,  2515.



                           6.11 ผูแตงคนเดียวกันมีวัสดุอางอิงที่พิมพปเดียวกันหลายชิ้น และผูเขียนไดนํา อางอิงมากกวา
              1  ชิ้น  ในกรณีเชนนี้จําเปนตองทําใหการอางอิงแทรกในเนื้อหาชี้ไดชัดวาเปนวัสดุชิ้นใด โดยเติมอักษร  ก  ข  ค

              ...  หรือ  A  B  C  ... ลงตอทายปพิมพของวัสดุนั้นโดยใหลง  ก  ข  ค หรือ  A  B  C  ตามการจัดเรียงลําดับใน
              บรรณานุกรมกอน  แลวจึงนําตัวอักษรนั้น ๆ มาระบุตอทายในการอางอิงแทรกในเนื้อหา  โดยเวนระยะ  2  เคาะ
              และใสเครื่องหมายจุดทายตัวอักษร  ดังตัวอยาง







               คูมือการเขียนบทนิพนธ
   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50