Page 46 - คู่มือการเขียนวิจัยและการอ้างอิง
P. 46
39
บุญชม ศรีสะอาด. การวิจัยเบื้องตน. มหาสารคาม : ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา คณะศึกษาศาสตร
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2539 ก.
––––––––. วิธีการทางสถิติสําหรับการวิจัย. เลม 1. มหาสารคาม : ภาควิชาพื้นฐาน
การศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2539 ข.
Marek, E.A. “They Misunderstand, But They’ ll Pass,” The Science Teacher. 53(10) :
32-35 ; December, 1986 A.
––––––––. “Understandings and Misunderstandings of Biology Concepts,” The American
Biology Teacher. 48(1) : 37-40 ; January, 1986 B.
6.12 กรณีไมปรากฏชื่อผูแตง ใหใชชื่อหนังสือหรือชื่อบทความขึ้นกอน
7. การเขียนบรรณานุกรมของวัสดุสารสนเทศ ใหแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับวัสดุสารสนเทศตามรูปแบบ
ของการเขียนบรรณานุกรมซึ่งจะกลาวตอไป รายละเอียดที่ตองระบุไวในบรรณานุกรม แบงไดเปน 4 สวน คือ
7.1 ชื่อผูแตง หรือผูพูด หรือผูขับรอง
7.2 ชื่อเรื่อง หรือชื่อบทความและชื่อวารสาร หรือชื่อเพลง หรือชื่อรายการ
7.3 ครั้งที่พิมพ หรือครั้งที่ผลิต
7.4 สถานที่พิมพหรือสถานที่ผลิต สํานักพิมพหรือบริษัทที่ผลิต ปที่ผลิต
8. หลักการพิมพชื่อเรื่อง ชื่อวารสาร ชื่อสารนุกรม จะพิมพตัวอักษรตัวหนาหรือแบบขีดเสนใตก็ได
แตตองเลือกแบบใดแบบหนึ่งตลอดทั้งเลม (แตในบทที่ 3 จะยกตัวอยางเฉพาะกรณีขีดเสนใตเทานั้น)
9. หากหนังสือที่นํามาอางอิง
ไมปรากฏสถานที่พิมพ ใหลงวา ม.ป.ท. หรือ s.l.
ไมปรากฏสํานักพิมพ ใหลงวา ม.ป.พ. หรือ s.n.
ไมปรากฏปที่พิมพ ใหลงวา ม.ป.ป. หรือ n.d.
ไมปรากฏเลขหนา ใหลงวา ไมมีเลขหนา หรือ unpaged
10. กรณีครั้งที่พิมพ ใหใสครั้งที่พิมพตั้งแตครั้งที่ 2 ขึ้นไป หากมีขอความระบุการปรับปรุง แกไข (revised)
หรือการแกไขเพิ่มเติม (enlarged) ก็ใหใสไวดวย ดังตัวอยาง
พิมพครั้งที่ 2 2 ed.
nd
พิมพครั้งที่ 3 3 ed.
rd
พิมพครั้งที่ 4 4 ed.
th
พิมพครั้งที่ 3 ฉบับปรับปรุงแกไข 3 rev. ed.
rd
nd
พิมพครั้งที่ 2 แกไขเพิ่มเติม 2 rev. & enl. ed.
11. รายการบรรณานุกรมแตละรายการ ใหจัดพิมพใหจบหนาเดียวกัน
คูมือการเขียนบทนิพนธ