Page 43 - คู่มือการเขียนวิจัยและการอ้างอิง
P. 43

36


              การเขียนและการพิมพบรรณานุกรม



                      บรรณานุกรม  คือบัญชีรายการหนังสือและวัสดุสารนิเทศทุกประเภทที่นํามาใชประกอบการเขียน
              วิทยานิพนธ   การศึกษาคนควาอิสระ  และการศึกษาปญหาพิเศษ  โดยจัดเรียงตามลําดับ  ตัวอักษรของคําแรกที่

              ปรากฏในบรรณานุกรมแตละรายการ  การเขียนและการพิมพบรรณานุกรมมี รูปแบบดังนี้
                         1. กอนถึงบรรณานุกรม ตองมีหนาบอกตอนที่มีขอความวา  “บรรณานุกรม”  อยูกึ่งกลางของหนา
              กระดาษ หากเปนวิทยานิพนธภาษาอังกฤษใหใชคําวา  “BIBLIOGRAPHY”  ซึ่งพิมพดวยตัวอักษรตัวพิมพใหญ

                         2. ในหนาแรกของบรรณานุกรม ใหใชคําวา  “บรรณานุกรม”  โดยวางไวกลางหนากระดาษตอนบน
              หากเปนบทนิพนธภาษาอังกฤษใหใชคําวา  “BIBLIOGRAPHY”

                         3. บทนิพนธภาษาไทยใหใชหัวเรื่องบรรณานุกรมเปนภาษาไทย  และจัดเรียงบรรณานุกรมที่เปนภาษา
              ไทยไวกอนบรรณานุกรมที่เปนภาษาตางประเทศ แตถาเปนบทนิพนธภาษาตางประเทศใหใชหัวเรื่องบรรณานุกรม
              เปนภาษาตางประเทศและจัดเรียงบรรณานุกรมที่เปนภาษาตางประเทศไวกอนบรรณานุกรมที่เปนภาษาไทย  สวน

              บรรณานุกรมทางประวัติศาสตรใหจัดเรียงเอกสารประเภทแหลงชั้นตน  (Primary  Sources) ไวกอนเอกสาร
              ประเภทแหลงชั้นรอง (Secondary  Sources)  หากบทนิพนธนั้นมีบรรณานุกรมที่เปนภาษาตางประเทศอื่น ๆ

              ใหพิจารณาจัดเรียงตามความเหมาะสม เชน จัดเรียงบรรณานุกรมที่เปนภาษาลาวไวตอจากบรรณานุกรมที่เปน
              ภาษาไทย และจัดเรียงบรรณานุกรมที่เปนภาษาฝรั่งเศสไวตอจากบรรณานุกรมภาษาอังกฤษ เปนตน
                         4. ไมตองใชเลขลําดับรายการบรรณานุกรม  แตใหจัดเรียงบรรณานุกรมตามลําดับตัวอักษรของคําแรก

              ที่ปรากฏในบรรณานุกรมแตละรายการตามพจนานุกรม  ฉบับราชบัณฑิตสถาน หากตัวอักษรของคําแรกเหมือนกัน
              ใหจัดเรียงตามลําดับตัวอักษรของคําที่อยูถัดไปเรื่อย ๆ จนสามารถตัดสินไดวาจะเรียงบรรณานุกรมรายการใดไว

              กอน  หลักเกณฑการจัดเรียงตัวอักษรนั้นใชหลักเกณฑ เดียวกันกับหลักเกณฑการจัดเรียงคําในพจนานุกรม  ฉบับ
              ราชบัณฑิตยสถาน  หรือหลักการเรียง   ลําดับอักษรในภาษานั้น ๆ
                        5. ขอความแรกของแตละบรรณานุกรม  ใหลงชิดขอบซายของกระดาษ หากบรรณานุกรมแตละรายการ

              มีความยาวมาก พิมพไมพอในหนึ่งบรรทัด  ใหพิมพตอในบรรทัดถัดไปโดยยอหนาเขามา  1.5  เซนติเมตร  ทุก
              บรรทัดจนจบบรรณานุกรมของวัสดุสารนิเทศ แตละรายการ

                         6. การลงชื่อผูแตงที่เปนบุคคลในบรรณานุกรม  ใหปฏิบัติดังนี้
                              6.1  ยศ ฐานันดรศักดิ์  อิสริยยศ  บรรดาศักดิ์  หรือคําประกอบชื่อผูแตงอื่น ๆ  ตัวอยางเชน  พล อ.
              พ.อ.  ม.ร.ว.  สมเด็จฯกรมพระยา   พระยา   Sir   Sr.(Senior)  Jr.(Junior) เปนตน ใหลงชื่อผูแตง  ดังตัวอยาง



                               ปน  มุทุกัณฑ,  พ.อ.
                             คึกฤทธิ์  ปราโมช,  ม.ร.ว.

                             หลวงวิจิตรวาทการ,  พล  ต.
                             ปน  มาลากุล,  ม.ล.

                             ดํารงราชานุภาพ,  สมเด็จฯกรมพระยา
                             อนุมานราชธน,  พระยา
                              Penn,  Robert,  Jr.






               คูมือการเขียนบทนิพนธ
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48