Page 41 - คู่มือการเขียนวิจัยและการอ้างอิง
P. 41
34
19. แผนที่ ไดแก แผนที่ที่เปนแผนเดี่ยว ๆ ไมไดรวมเปนเลม ใชรูปแบบดังนี้
ชื่อเรื่อง. (แผนที่). ปที่ผลิต. ดังตัวอยาง
1 แผนที่กรุงเทพมหานคร. (แผนที่). 2525.
2 The Middle East. (Map). n.d.
20. การอางวัสดุสารสนเทศซํ้า
ถาในบทหนึ่ง ๆ จําเปนตองอางวัสดุสารสนเทศซํ้ามากกวา 1 ครั้งใหใชคํายอในการอาง ซึ่งมี
3 แบบดังนี้
20.1 ภาษาไทยใช แหลงเดิม ภาษาอังกฤษใชคําวา Ibid. ใชในกรณีไมมีเชิงอรรถที่กลาวถึง
วัสดุสารสนเทศอื่นมาคั่น
20.2 ภาษาไทยใช เลมเดิม ภาษาอังกฤษใชคําวา op. cit. ใชในกรณีที่อางอิงวัสดุสารสนเทศ
เลมเดิมแตเลขหนาที่อางตางกัน และมีเชิงอรรถที่กลาวถึงวัสดุสารสนเทศอื่นมาคั่น
20.3 ภาษาไทยใช หนาเดิม ภาษาอังกฤษใชคําวา loc. cit. ใชในกรณีที่อางอิงวัสดุสารสนเทศ
เลมเดิม หนาเดิม แตมีเชิงอรรถที่กลาวถึงวัสดุสารสนเทศอื่นมาคั่น ดังตัวอยาง
1 กีรติ บุญเจือ. ตรรกวิทยาทั่วไป. 2528. หนา 21.
2 หลวงวิจิตรวาทการ. มันสมอง. 2529. หนา 78-80.
3 แหลงเดิม. หนา 80.
4 กีรติ บุญเจือ. เลมเดิม. หนา 25.
5 แหลงเดิม.
6 หลวงวิจิตรวาทการ. หนาเดิม.
7 John Rex. Key Problems of Sociological Theory. 1980. p. 1.
8 Ibid.
9 ฉวีลักษณ บุณยะกาญจน. จิตวิทยาการอาน. 2525. หนา 15.
10 John Rex. op. cit. p. 85-86.
11 Ibid. p. 99.
12 ทรงพันธ วรรณมาศ. การอานตีความ. 2524. หนา 30.
13 John Rex. loc. cit.
21. การอางอิงแหลงรอง
ในการศึกษาคนควาควรอางเอกสารตนเรื่อง (Primary Sources) ไมควรอางเลมที่ไมใช
ตนเรื่อง แตถาจําเปนเพราะติดตามหาอานไมไดจริง ๆ จึงอางแหลงรอง คือเลมที่ไดอานแตไมใชตนความคิด การ
อางลักษณะนี้ใหอางถึงเลมที่ไดอานกอนแลวตามดวยเลมที่ไมไดอาน (เลมตนเรื่อง) รายละเอียดของเลมตนเรื่อง
จะอยูในวงเล็บโดยมีขอความ “อางอิงมาจาก” หรือ “citing” อยูกอนชื่อผูแตง ดังตัวอยาง
คูมือการเขียนบทนิพนธ