Page 42 - คู่มือการเขียนวิจัยและการอ้างอิง
P. 42
35
1 สวรรค สุวรรณโชติ. ประเทศไทยกับปญหาเมืองจันทนและตราดที่ฝรั่งเศสยึดครอง. 2529. หนา 44.
(อางอิงมาจาก กรมโฆษณาการ. การเสียดินแดนแกฝรั่งเศส. 2482 หนา 30.)
3. การอางอิงอยูทายบทเรียงตามลําดับการอางอิง
3.1 การอางแบบนี้ใชหลักเกณฑเชนเดียวกับเชิงอรรถ โดยปรับเปลี่ยนรายการอางอิงทุกรายการ
แทนที่จะไวเปนเชิงอรรถที่ตอนลางของหนาก็ยายไปไวทายบทหนึ่ง ๆ
3.2 ตัวเลขกํากับอัญประภาษและการอางอิงจะเริ่ม 1 ใหมเมื่อขึ้นบทใหม
3.3 เมื่อจบเนื้อหาในบทหนึ่ง ๆ ใหพิมพรายการอางอิงตอไดทันที เวนแตเมื่อพิมพหัวขอ “การอางอิง”
แลวหมดหนาพอดี ก็ควรขึ้นหนาใหม
3.4 กอนเริ่มรายการอางอิงใหมีคําวา “การอางอิง” หรือ “REFERENCES” อยูกลางหนากระดาษ
และขอความนี้จะตองอยูหางจากบรรทัดสุดทายของเนื้อเรื่อง 1 บรรทัดพิมพ สวนรายการภายใตหัวขอนี้จะอยูหาง
1 บรรทัดพิมพ
3.5 รายการอางอิงใหพิมพหมายเลขลําดับการอางอิงตอเนื่องไปตามลําดับการอางอิงในเนื้อเรื่อง
ไมวาจะเปนการอางที่มาหรือเปนการอธิบายขยายความก็ตาม
3.6 วัสดุอางอิงทุกชิ้นตองปรากฏในบรรณานุกรมทายเลม
ตัวอยางการอางอิงทายบท
การอางอิง
1 อุบล เรียงสุวรรณ และคนอื่น ๆ. วิชาชุดครูมัธยม ตอนที่ 2 หลักการสอนและวิธีสอน วิชาเฉพาะ.
2509. หนา 31.
2 Billian Gray and Bora Reese. Teaching Children to Read. 1957.
p. 9-10.
3 Lawrence E. Hafner. Improving Reading in Secondary Schools. 1967. p. 3.
4 Ibid. p. 130-131.
5 ฉวีลักษณ บุณยะกาญจน. จิตวิทยาการอาน. 2525. หนา 7.
6 สุขุม เฉลยทรัพย. การสงเสริมการอาน. 2529. หนา 18.
7 จุฑามาศ สุวรรณโครธ. “การอานเปน,” สามัญศึกษา. 11(23) : 27-30 ; ธันวาคม, 2519.
8 Lawrence E. Hafner. op. cit. p. 6.
9 ฉวีลักษณ บุณยะกาญจน. แบบเรียนการอานและพิจารณาหนังสือ. 2523. หนา 24.
10 สุขุม เฉลยทรัพย. หนาเดิม.
11 ฉวีลักษณ บุณยะกาญจน. เลมเดิม. หนา 13.
คูมือการเขียนบทนิพนธ