Page 121 - sadasd
P. 121
กระบอกสูบสองทำงชนิดมีตัวกันกระแทก
่
้
กระบอกสูบที่ท างานด้วยความเร็วคอนขางสูง ในช่วงที่เกิดการเคลื่อนที่เขา หรือออกจะท าให้เกิด
้
การกระแทกระหว่างลูกสูบกับฝาปิดด้านหัวและท้าย ดังนั้นการป้องกันการกระแทกของลูกสูบโดยใช้ลมมาเป็น
ตัวกันกระแทก (Air Cushion) ก่อนที่ลูกสูบจะถึงปลายช่วงชัก โดยที่สามารถปรับลดแรงกระแทกให้มากน้อย
ตามความต้องการ
หลักกำรท ำงำน
เมื่อป้อนลมเข้าที่ A ก้านสูบเคลื่อนที่ออก ก่อนที่ลูกสูบจะสุดช่วงชัก ซีลกั้นกระแทกจะปิดทางระบายลม
่
ท าให้เกิดแรงต้าน ลมจะค่อยๆระบายออกทางท่อเล็กจนกวาก้านสูบจะเคลื่อนที่สุดช่วงชัก
้
เมื่อป้อนลมเขาที่ B ก้านสูบเคลื่อนที่เข้า ก่อนที่ลูกสูบจะสุดช่วงชัก จะเกิดแรงต้านของลมเช่น เดียวกับ
ในจังหวะการเคลื่อนที่ออกของกระบอกสูบ การลดแรงกระแทกสามารถท าได้โดยปรับที่สกรูกันกระแทก
ซลและลูกสบ สกรปรบกันกระแทก
ู
ู
ี
ั
ู
ก้านสบ
สัญลักษณ ์
ี
ซลกันลม
ี
A ซลกันกระแทก B
รูปที่ 4.21 กระบอกสูบสองทางชนิดมีตัวกันกระแทก
ที่มา : วิทยา ดีวุ่นและคณะ.นิวเมติกส์และไฮดรอลิกส์, 2546: 22
กระบอกสูบแบบโรตำรี่
กระบอกสูบแบบโรตารี่เป็นอุปกรณท างานที่เปลี่ยนการเคลื่อนที่ในแนวตรงของลูกสูบให้เป็นการ
์
เคลื่อนที่ในแนวหมุน โดยที่ก้านสูบจะมีเฟืองสะพานซึ่งขบกับเฟืองวงกลมของล้อตาม เมื่อก้านสูบเคลื่อนที่เขา
้
– ออก ก็จะท าให้ล้อตามเกิดการเคลื่อนที่ในลักษณะหมุนกลับไปกลับมาด้วยเช่นกัน
32025301 การควบคุมไฟฟ้าและนิวแมติก