Page 71 - sadasd
P. 71
หน่วยที่ 3
การควบคุมมอเตอร์
บทน ำ
การควบคมมอเตอร์สองความเร็วแบบเรียงล าดับนั้นนักศึกษาต้องรู้หลักการเขาใจการ างานของวงจร
ุ
้
ของมอเตอร์ท างานเรียงล าดับ การเปลี่ยนแปลงระดับความเร็วรอบของมอเตอร์ และการต่อใชงาน
้
้
โดยมีหลากหลายวธีในการใชงานนั้นๆ เพื่อจะที่จะสั่งให้มอเตอร์ท างานตามเงื่อนไขตามผู้ปฎบัติงานเป็นคน
ิ
ิ
ก าหนด
3.2.4 กำรควบคุมมอเตอร์สองควำมเร็วแบบเรียงล ำดับ
มอเตอร์สามเฟส สามารถเปลี่ยนความเร็วได้โดยการเปลี่ยนวงจรของขดลวดที่เปลือกนอก ท าให้จ านวน
ั้
ขั้วแม่เหล็กเปลี่ยนไป เช่นจาก 2 ขั้ว(N-S)เป็น 4 ขว (N-S-N-S) จาก 4 ขั้วเป็น 8 ขั้ว หรือจาก 6 ขั้วเป็น 12 ขว
ั้
ั้
ื
้
โดยมีขอควรจ ากัดก็คอการเปลี่ยนจ านวนขวจะต้องเป็น 2 เท่าเสมอเพราะวงจรของขดลวดบังคบอยู่
ั
นอกจากที่เปลือกนอก (สเตเตอร์) มีขดลวดมากกว่า 1 ชุด
ส าหรับการค านวณ ความเร็วรอบ(R.P.M)หรือ(N)ของมอเตอร์อาจค านวณได้จากสูตร
โดยให้ N= ความเร็วต่อนาที มีหน่วยเป็น R.P.M
F = จ านวนความถี่ของกระแสไฟฟ้ากระแสสลับ ซึ่งของประเทศไทยคือ 50 ครั้งต่อวินาที มีหน่วย
เป็น Hz
P = จ านวนขั้วแม่เหล็กของมอเตอร์
ชนิดของมอเตอร์สองควำมเร็ว
มีหลายแบบตามการออกแบบของผู้ผลิต ดังนี้
1. แบบแรงม้ำคงท (Constant Horsepower Motor) แบบนี้จะให้ก าลังหรือแรงม้าคงที่
ี่
แม้ว่าความเร็วรอบในการหมุนจะเปลี่ยนแปลงไป
ิ
ี่
2. แบบแรงบดคงท (Constant Torque Motor) แบบนี้จะให้แรงบิดขณะเริ่มเดิน และแรงบิด
ระหวางท างานคงที่สม่ าเสมอ แม้วาความเร็วรอบในการหมุนจะเปลี่ยนไป ตัวอย่างการใชงานได้แก่
้
่
่
้
เครื่องปรับอากาศ สายพานล าเลียง เป็นตน
3. แบบแรงบดเปลี่ยนแปลง (Variable Torque Motor) แบบนี้จะให้แรงบิดและแรงม้าเพิ่มขน
ึ้
ิ
เมื่อความเร็วรอบของมอเตอร์เพิ่มสูงขึ้น
32025301 การควบคุมไฟฟ้าและนิวแมติก