Page 95 - sadasd
P. 95
หน่วยที่ 3
การควบคุมมอเตอร์
บทน ำ
การควบคุมมอเตอร์แบบอัตโนมัติแบบ ออโตทรานฟอร์มเมอร์สตาร์ทเตอร์นั้นนกศึกษาต้องรู้หลักการ
ั
้
้
เขาใจการท างานของวงจรของมอเตอร์ การใชแทปของหม้อแปลงออโตหลายๆขนมาประกอบกับวงจร
ั้
เพื่อช่วยให้การสตาร์ทในการลดแรงดันขณะเริ่มหมุนของมอเตอร์ เพื่อจะที่จะสั่งให้มอเตอร์ท างานตามเงื่อนไข
ตามผู้ปฎิบัติงานเป็นคนก าหนด
3.3.2 ออโตทรำนฟอร์มเมอร์สตำร์ทเตอร์
้
การเริ่มเดินมอเตอร์แบบนี้ ขณะเริ่มสตาร์ทจะใชออโตทรานฟอร์มเมอร์มาเป็นตัวชวย
่
ลดแรงดันไฟฟ้าจากแหล่งจ่ายลงให้เหลือเพียง 50% ถง 75% เนื่องจากอัตราส่วนจ านวนรอบของหม้อแปลง
ึ
ออโตจะท าให้กระแสในสายที่ผ่านขดลวดปฐมภมิต่ ากวากระแสในสายทางด้านขดลวดทุติยภมิ
ู
ู
่
่
้
ื
ที่ไหลเข้ามอเตอร์ อีกทั้งการเริ่มเดินจะคอยๆ ปรับได้อย่างต่อเนื่อง คอ ใชแทปของหม้อแปลงออโตหลายๆ
ขั้นได้เช่น แทปของแรงดันเอาตพุต 1.0 0.8 0.65 และ 0.5 P.U. เป็นต้น ขดลวดในมอเตอร์ต่อแบบสตาร์
์
ท าให้แรงดันไฟฟ้าที่จ่ายให้กับมอเตอร์ต่ ากวาที่ก าหนดบนแผ่นป้ายตามอัตราส่วนแรงดันไฟฟ้าที่ลดลง
่
มีผลท าให้กระแสสตาร์ทในมอเตอร์ลดลงเหลือเพียง 2 เท่า ของกระแสพิกัดใชงานหลังจากมอเตอร์
้
ิ
่
ผ่านพ้นชวงสตาร์ทไปแล้ว 7-10 วนาที ไทเมอร์จะสั่งตัดออโตทรานฟอร์มเมอร์ออกโดยอัตโนมัติ
ุ
แล้วเปลี่ยนเป็นการจ่ายแรงดันไฟฟ้าเข้าสู่มอเตอร์โดยตรง (อภิญโญ อุ่นคาและช านาญ เนียมก้อน.การควบคม
ไฟฟ้า, 2554)
ก) วงจรก ำลัง ข)วงจรควบคุม
รูปที่ 3.47 แบบงานออโตทรานฟอร์มเมอร์สตาร์ทเตอร์
ที่มา : http://e-power.ptl.ac.th/index.php?option=com_docman&Itemid=1041/08/59
32025301 การควบคุมไฟฟ้าและนิวแมติก