Page 90 - sadasd
P. 90

K1: เป็นคอนแทคส าหรับจ่ายไฟให้ขดลวดสเตเตอร์
                           K2: เป็นคอนแทคส าหรับลัดวงจร R1

                           K3: เป็นคอนแทคส าหรับลัดวงจร R2
                           K4: เป็นคอนแทคส าหรับลัดวงจร R3
                           M31: มอเตอร์
                  กำรท ำงำนของวงจร จากรูปที่ 3.45 การท างานมี 4 ขั้นตอน

                       ขั้นที่ 1 K1 ต่อวงจรให้ขดลวดสเตเตอร์ได้รับแรงดันโดยตรง ตัวต้านทานทุกตัวต่ออนุกรมกับโรเตอร์
                       ขั้นที่ 2 K1 ท างานร่วมกับ K2 โดย K1 ต่อวงจรให้ขดลวดสเตเตอร์ K2 ลัดวงจร R1
                       ขั้นที่ 3 K1 ท างานร่วมกับ K3 โดย K1 ต่อวงจรให้ขดลวดสเตเตอร์ K3 ลัดวงจร R2
                       ขั้นที่ 4 K1 ท างานร่วมกับ K4 โดย K1 ต่อวงจรให้ขดลวดสเตเตอร์ K4 ลัดวงจรขดลวดโรเตอร์ที่ขั้ว

                       K,L และ M
                                              ุ
                  วงจรควบคุม ออกแบบวงจรควบคมโดยก าหนดเวลาอัตโนมัติ


























                                   รูปที่ 3.46 แสดงวงจรควบคุมการเริ่มเดินมอเตอร์แบบวาวด์โรเตอร์
                        ที่มา : http://e-power.ptl.ac.th/index.php?option=com_docman&Itemid=104
                  ส่วนประกอบของวงจร จากรูปที่ 3.46 วงจรประกอบด้วย

                     F2: อุปกรณ์ป้องกัน ใช้ฟิวส์ หรือเซอร์กิตเบรกเกอร์
                     F3: หน้าสัมผัสโอเวอร์รีเลย์ ป้องกันการโอเวอร์โหลดรีเลย์
                     S1, S2: สวิตซ์ปุ่มกด S1 สั่งให้มอเตอร์หยุดท างาน S2 สั่งให้มอเตอร์เริ่มเดิน
                     K1: เป็นคอนแทคเตอร์ส าหรับจ่ายไฟให้ขดลวดสเตเตอร์
                     K2: เป็นคอนแทคเตอร์ส าหรับลัดวงจร R1 ในวงจรก าลัง







                                                                                              32025301 การควบคุมไฟฟ้าและนิวแมติก
   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95