Page 89 - sadasd
P. 89
์
ิ
1. กดสวตช S2 ท าให้คอนแทคเมน (Main Contactor) K1 ท างาน ขณะนี้มอเตอร์จะเริ่มหมุน
คอนแทคเตอร์ปกติเปิดของ K1 ในแถวที่ 3 จะต่อวงจรให้คอยล์แมกเนติกคอนแทคเตอร์ K2 ในแถวที่ 3
เพื่อเตรียมพร้อมจะท างาน ถ้าหากสวิตช์ S3 ถูกกด
่
์
ิ
2. กดสวตช S3 แมกเนติกคอนแทคเตอร์ K2 ท างาน เป็นการปรับรีโอสตาทให้มีคาต่ าลงมอเตอร์
จะหมุนเร็วขน คอนแทคปกติเปิดของ K2 ในแถวที่ 5 จะต่อวงจรให้คอยล์แมกเนติกคอนแทคเตอร์ K3
ึ้
ในแถวที่ 5 เพื่อเตรียมพร้อมจะท างาน ถ้าหากสวิตช์ S4 ถูกกด
์
3. กดสวตช S4 (ต้องสังเกตความเร็วรอบ ก่อนจะกดสวตช S4) แมกเนติกคอนแทคเตอร์ K3
์
ิ
ิ
้
ในแถวที่ 5 จะท างาน พร้อมกับล็อกตัวเองไว (เป็นการลัดวงจรรีโอสาตทไม่ให้มีผลต่อวงจรของโรเตอร์
อีกต่อไป) ขณะเดียวกันคอนแทคปกติปิดของ K3 ในแถวที่ 3 จะตัดวงจร K2 ในแถวที่ 3 ออกไป จึงเหลือ
เฉพาะแมกเนติกคอนแทคเตอร์ K3 ท างานร่วมกับ K1 ตลอดไป
4. เมื่อกดสวิตช์ S1 มอเตอร์จะหยุดหมุน
http://e-power.ptl.ac.th/index.php?option=com_docman&Itemid=104
การเริ่มเดินโดยใช้ตัวต้านทานต่ออนุกรมเข้ากับขดลวดโรเตอร์ของมอเตอร์แบบวาวด์โรเตอร์โดยอัตโนมัติ
วงจรก ำลัง
รูปที่ 3.45 แสดงการเริ่มเดินมอเตอร์วาวด์โรเตอร์โดยต่อตัวต้านทานอนุกรมเข้าขดลวดโรเตอร์
ที่มา : http://e-power.ptl.ac.th/index.php?option=com_docman&Itemid=104
ส่วนประกอบของวงจร จากรูปที่ 3.45 วงจรประกอบด้วย
F1: อุปกรณ์ป้องกัน ใช้ฟิวส์ หรือเซอร์กิตเบรกเกอร์
F2: อุปกรณ์ป้องกันการโอเวอร์โหลดของมอเตอร์ใช้โดเวอร์โหลดรีเลย์
32025301 การควบคุมไฟฟ้าและนิวแมติก