Page 3 - สังคมผู้สูงอายุ (อย่างสมบูรณฺ์)
P. 3
สังคมก�าหนดและมองว่า
เมื่อบุคคลใดก็ตามที่มีอายุ 60 ปบริบูรณ
บุคคลนั้นก็กลายเป็นผู้สูงอายุที่ต้องเปลี่ยนสถานะ
จากผู้ขับเคลื่อนเศรษฐกิจของสังคม
มาเป็นกลุ่มคนที่ต้องเข้าสู่ภาวะพึ่งพึงจากสังคม
โดยที่ผู้สูงอายุไม่สามารถหาข้อใดๆ โต้แย้งได้เลย
เพราะสังคมได้ก�าหนดอัตลักษณของความสูงอายุไว้แล้ว
สังคมมากกว่าที่จะมีเปาหมายในการสร้างครอบครัว แนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ประกอบด้วยผู้ชาย
ด้วยเหตุผลข้างต้นจะเห็นว่าความเจริญก้าวหน้าใน 4.6 ล้านคน และผู้หญิง 5.7 ล้านคน คิดเป็นสัดส่วน
สังคมไทยก่อให้การพัฒนาที่ส่งผลดีและผลกระทบ เพศของประชากรสูงอายุเท่ากับผู้สูงอายุชาย 80 คน
ต่อสังคม โดยเฉพาะผลกระทบทางด้านโครงสร้าง ต่อผู้สูงอายุหญิง 100 คน (สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย
ประชากรที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ด้วยสาเหตุ 2558, 2559, น.22) มีการคาดการณ์ว่าสัดส่วน
ของการมีอายุที่ยืนยาวขึ้นท�าให้อัตราการเสียชีวิต ประชากรวัยเด็กจะเท่ากับสัดส่วนของประชากรวัย
ของประชากรที่ต�่าลง อัตราประชากรกลุ่มวัยสูงอายุ สูงอายุ ด้วยการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวที่เกิดขึ้นเป็น
จึงมีจ�านวนเพิ่มขึ้น ขณะเดียวกันอัตราการเกิดของ เหตุส�าคัญที่ท�าให้ภาครัฐเล็งเห็นความส�าคัญของใน
ประชากรก็ลดลง ท�าให้ประชากรกลุ่มวัยเด็กที่จะ เรื่องนี้ จึงได้มีการวางแผน และก�าหนดนโยบาย
เป็นก�าลังแรงงานในภายภาคหน้ากลับมีน้อยลง ด้านต่างๆ ทั้งด้านอุตสาหกรรม ด้านการลงทุน และ
อย่างต่อเนื่องเช่นกัน ด้วยภาวการณ์เปลี่ยนทาง ด้านสวัสดิการสังคม ที่มีความสอดคล้องกับการ
โครงสร้างที่สวนทางกัน ส่งผลให้สังคมไทย เปลี่ยนแปลงทางโครงสร้างประชากรที่เกิดขึ้น ตลอด
ในปัจจุบันกลายเป็น “สังคมผู้สูงอายุ” (Aging จนการรองรับสวัสดิการสังคมด้านผู้สูงอายุ เช่น
2
Society) อย่างหลักเลี่ยงไม่ได้ แผนผู้สูงอายุแห่งชาติ พระราชบัญญัติผู้สูงอายุ
ประเทศไทยเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุตั้งแต่ ปี 2548 2546 ยุทธศาสตร์และมาตรการของแผน และ
แล้ว ด้วยเหตุผลดังกล่าวข้างต้น สัดส่วนโครงสร้าง ปฏิญญาผู้สูงอายุไทย การก�าหนดนโยบายและ
ประชากรในปัจจุบันเมื่อจ�าแนกประชากรออกเป็น แผนเหล่านี้เป็นพื้นฐานเบื้องต้นในการก�าหนด
3 กลุ่มใหญ่ๆ คือ ประชากรวัยเด็ก (อายุน้อยกว่า แนวทางของการด�าเนินงาน ส่งเสริม คุ้มครองด้าน
15 ปี) วัยแรงงาน (อายุ 15-59 ปี) และวัยสูงอายุ ผู้สูงอายุ ให้เกิดความเท่าเทียมและเป็นไปในทิศทาง
(อายุ 60 ปีขึ้นไป) ช่วงระหว่างปี 2553-2558 สัดส่วน เดียวกันของหลายๆ ประเทศทั่วโลกที่ล้วนแต่ประสบ
ประชากรในวัยเด็ก และประชากรวัยแรงงาน มี กับปัญหาการเพิ่มขึ้นของจ�านวนผู้สูงอายุอย่าง
แนวโน้มลดลง ขณะที่สัดส่วนประชากรวัยสูงอายุมี ต่อเนื่องเช่นเดียวกัน
8 วารสารกึ่งวิชาการ