Page 7 - สังคมผู้สูงอายุ (อย่างสมบูรณฺ์)
P. 7

แม้กระทั่งตัวผู้สูงอายุเองก็มองตนเองเป็นดังเช่นที่
           ถูกสังคมตีตราหรือกล่าวหาไว้อย่างที่ยากที่เปลี่ยน        การเรียนรู้ที่ไม่หยุดนิ่ง
           เช่นกัน แต่สังคมปัจจุบันกับหลายทศวรรษที่ผ่านมา
           นั้นได้เปลี่ยนแปลงไปมาก ความเชื่อและมุมมองที่                ของผู้สูงอายุ

           ถูกตีตราไว้นั้นเริ่มเลือนหายไปจากสังคมทีละน้อย     จะเป็นเส้นทางในการเปดโอกาส
           ถึงแม้ว่าปัจจุบันมุมมองเหล่านี้ยังคงเหลืออยู่ แต่ก็         สู่ความรู้ใหม่ๆ
           ไม่ยากเกินไปที่จะปฏิวัติความคิดและมุมมองเกี่ยวกับ     เพื่อให้เป็นส่วนหนึ่งในการ
           ผู้สูงอายุเสียใหม่ให้กับประชาชนในสังคม เพราะว่า  พัฒนาตนเองให้เกิดความก้าวหน้า

           สังคมปัจจุบันเป็นสังคมผู้สูงอายุ ทว่าจุดเริ่มต้น
           ของการเปลี่ยนแปลงทางความคิดในเรื่องนี้หากจะ         และไม่ล้าหลัง ดังค�ากล่าวที่ว่า
           ต้องเริ่มที่ใครคนใดคนหนึ่งก่อน ควรจะเป็น “ผู้สูง     “ไม่มีใครแก่เกินเรียน” นั่นเอง
           อายุ” นั่นเอง ผู้สูงอายุเองควรเป็นกลุ่มแรกที่ลบ

           เลือนความเชื่อเหล่านี้ออกไปจากความคิด แล้ว
           เปลี่ยนทัศนคติการมอง “ตนเอง” ใหม่ หันมอง      แบบใหม่ ดังนั้นจะเป็นได้ว่าผู้สูงอายุจะต้องพบเจอ
           คุณค่า พลัง ศักยภาพ ความรู้และความสามารถของ   กับการเปลี่ยนแปลงและการเรียนรู้เรื่องราวใหม่ๆ
           ตนเองมากกว่าสรีระร่างกายที่แสดงออกจาก         อยู่ตลอดเวลานับกว่าครึ่งชีวิต ซึ่งสิ่งเหล่านี้ก็เป็น

           ภายนอก การท�าให้ตนเองเชื่อในตนเองเป็นสิ่งที่  เรื่องปกติธรรมดาที่เมื่อความก้าวหน้าเกิดขึ้นใน
           ส�าคัญอย่างยิ่ง เพราะว่าเมื่อตนเองมีความศรัทธา  สังคม ประชากรที่อาศัยอยู่ในสังคมก็ต้องปรับเปลี่ยน
           และเชื่อมั่นในตนเองแล้วก็ไม่ใช่เรื่องยากเลยที่จะ  และเรียนรู้วัฒนธรรม ค่านิยมใหม่เหล่านั้น เพื่อการ
           ท�าให้คนในสังคมเชื่อเหมือนที่ตัวเราเชื่อในตัวเอง   ใช้ชีวิตต่อไปในสังคมอย่างมีความสุข ทั้งนี้ผู้สูงอายุ

           ดังนั้น ก่อนที่จะมีการปฏิวัติความคิดของคนใน   ก็เช่นเดียวกันต้องเป็นกลุ่มคนที่มีโลกทัศน์ที่
           สังคมนั้นผู้สูงอายุจะต้องปฏิวัติความคิด ความเชื่อ   เปิดกว้างไม่มีมุมมองที่แคบ เรียนรู้และจดจ�าเฉพาะ
           ทัศนคติ และมุมมองที่มีต่อตนเองเสียก่อน        เรื่องราวของช่วงอายุที่ตนเองเกิดและคุ้นชินเพียง
               2. “ปัญญาดี” วัยสูงอายุเป็นวัยแห่งการ     เท่านั้น แต่จะต้องขยันเรียนรู้เพิ่มเติมในนวัตกรรม

           ผ่านร้อนผ่านหนาวหรือผ่านประสบการณ์มา          ที่เกิดขึ้นมาในสังคมอย่างต่อเนื่อง เพื่อการรู้
           ตลอดเกินครึ่งชีวิตจากยุคหนึ่งมาสู่อีกยุคหนึ่ง   เท่าทันโลกและเทคโนโลยีในปัจจุบัน เช่น การติดต่อ
           ซึ่งผู้สูงอายุต้องผ่านกับปัญหาอุปสรรคพร้อมทั้ง  สื่อสารที่ใช้โทรศัพท์ การใช้อินเตอร์เน็ต และการฟัง
           การก้าวผ่านของเรื่องราวร้ายๆ หรือเรื่องราวดีๆ มาแล้ว   เพลงออนไลน์ เป็นต้น เทคโนโลยีเหล่านี้ล้วนแต่เป็น

           ประสบการณ์ที่หลากหลายมักจะสอนเรื่องราวดีๆ     นวัตกรรมที่เกิดขึ้นในสังคมไทยยุคปัจจุบัน ซึ่งอาจ
           ให้แก่บุคคลเหล่านั้นเสมอ การก้าวผ่านมาแต่ละยุค  จะไม่มีอยู่ในช่วงอายุเกิดของผู้สูงอายุแต่อยู่ในช่วง
           แต่ละสมัยของผู้สูงอายุก็จะท�าให้ต้องประสบกับการ  บั้นปลายชีวิตของผู้สูงอายุอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ เมื่อ
           เปลี่ยนแปลงไปพร้อมกับการปรับตัวเพื่อรองรับ    เป็นเช่นนี้ผู้สูงอายุต้องกล้าที่จะเรียนรู้ และพัฒนา

           สังคมใหม่ วัฒนธรรมใหม่ และความก้าวหน้า        ตนเองให้ก้าวทันความล�้าหน้าของเทคโนโลยีในโลก


        12   วารสารกึ่งวิชาการ
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12