Page 8 - สังคมผู้สูงอายุ (อย่างสมบูรณฺ์)
P. 8

เสี่ยงเหล่านี้สามารถที่จะเกิดขึ้นกับผู้สูงอายุได้
                                                           ทุกคนถ้าเกิดไม่มีการเตรียมความพร้อมที่ดีพอ
                                                           โดยที่การเตรียมความพร้อมนี้ต้องมีครบทุกด้านทั้ง
                                                           การเงิน ความมั่นคง และสุขภาพ โดยเฉพาะเรื่อง

                                                           “สุขภาพ” ต้องมีการเตรียมความพร้อมของการดูแล
                                                           สุขภาพระยะยาวเหมือนการหยอดกระปุกเงิน
                                                           ออมสินที่ต้องให้การหยอดเหรียญทุกวันจนเหรียญ
                                                           เต็มกระปุก การดูแลสุขภาพก็เช่นกันจะต้องใส่ใจ

                                                           ดูแลอย่างค่อยเป็นค่อยไป ดูแลแบบสะสมไปเรื่อยๆ
                                                           ตั้งแต่วัยรุ่น วัยกลางคน และพัฒนาไปสู่วัยสูงอายุ
                                                           เพราะว่าการได้มาซึ่งสุขภาพที่ดี แข็งแรง ไร้โรคภัย
                                                           นั้นไม่สามารถที่จะออกก�าลังกายได้เพียง 1 วัน 1

                                                           เดือน หรือ 1 ปี แต่ต้องสะสมเรื่อยๆ ตลอดชีวิต
              ปัจจุบันอย่างรู้เท่าทัน การเรียนรู้ที่ไม่หยุดนิ่งของผู้  จึงจะท�าให้ร่างกายของคนเราในช่วงวัยเกษียณอายุ
              สูงอายุจะเป็นเส้นทางในการเปิดโอกาสสู่ความรู้  ไม่ต้องประสบกับปัญหาโรคภัยเข้ามารุมเร้า

              ใหม่ๆ เพื่อให้เป็นส่วนหนึ่งในการพัฒนาตนเองให้  มากมาย ดังนั้น การก้าวย่างเข้าสู่วัยสูงอายุอย่างมี
              เกิดความก้าวหน้าและไม่ล้าหลัง ดังค�ากล่าวที่ว่า   คุณภาพและสง่างามไม่ใช่แค่เป็นการเตรียมความ
              “ไม่มีใครแก่เกินเรียน” นั่นเอง               พร้อมในเรื่องของเงินทองที่ใช้ในการเลี้ยงดูตนเอง
                  3. “สุขภาพดี” จากวลีที่ว่า “การไม่เป็นโรคเป็น  ในยามแก่เฒ่าเท่านั้น แต่ทว่าด้านร่างกายเป็นสิ่งที่

              ลาภอันประเสริฐ” เป็นวลีที่อมตะสามารถใช้ได้   ส�าคัญไม่ยิ่งหย่อนไปกว่ากัน เพราะถ้าผู้สูงอายุ
              ในทุกยุคทุกสมัย และทุกวัย โดยเฉพาะกลุ่มวัย   ออมเงินไว้มากมายตั้งแต่ช่วงวัยแรงงานโดยที่ไม่ได้
              สูงอายุที่เป็นวัยเสี่ยงต่อการเป็นโรคต่างๆ ได้ง่าย   ใส่ใจเรื่องการดูแลสุขภาพตนเองเลย ผลกระทบที่
              เช่น กลุ่มโรคเรื้อรัง ได้แก่ โรคเบาหวาน โรคความดัน  ตามมาพร้อมๆ ช่วงวัยสูงอายุนั้นก็คือ โรคภัยต่างๆ

              โลหิตสูง โรคอ้วน โรคหัวใจวาย โรคไตวาย โรคเข่า  ซึ่งเงินออมเหล่านั้นที่เก็บสะสมไว้ตั้งชีวิตก็จะต้อง
              ข้อเสื่อม และกลุ่มโรคอื่นๆ เช่น โรคทางสมอง   มลายหายไปกับการน�ามารักษาโรคของตนเอง หรือ
              โรคทางสายตา และโรคซึมเศร้า ฯลฯ โรคต่างๆ      ถ้าร้ายไปกว่านั้นก็อาจจะไม่มีโอกาสได้ใช้เงินก้อน
              เหล่านี้มักจะมาควบคู่กับวัยสูงอายุ เมื่อเป็นโรคใด  นั้นเลยเพราะเสียชีวิตก่อน ท้ายที่สุดคนเราก็ต้อง

              โรคหนึ่งก็มีความเสี่ยงสูงที่จะมีโรคอื่นๆ ตามมา  ย้อนกลับมาท่องประโยคเดิมให้ขึ้นใจว่า “การไม่มี
              แทรกซ้อนได้อีกถึง 1-2 โรค หรือมากกว่านั้น และ  โรคเป็นลาภอันประเสริฐ” เพื่อชีวิตสูงวัยอย่างมี
              ผลกระทบที่ตามมาภายหลัง คือ สุขภาพที่ไม่ดี    คุณภาพ
              ดังนั้น ผู้สูงอายุปัจจุบันหรือบุคคลที่ก�าลังเข้าวัย  4. “สังคมดี” การเข้าสู่วัยสูงอายุเมื่อสมัยก่อน

              สูงอายุจะต้องให้ความส�าคัญในเรื่องของการ     คงไม่มีความจ�าเป็นหรือให้ความส�าคัญอะไร
              “เตรียมความพร้อม” เป็นอย่างมาก เพราะภาวะ     มากมายกับเรื่องของการเตรียมความพร้อมในด้าน


                                                                    ปที่ 38 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2560   13
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13