Page 6 - สังคมผู้สูงอายุ (อย่างสมบูรณฺ์)
P. 6

ประสบการณ์ที่ตนเองท�างานมานั้นสร้างประโยชน์  ดูแลตนเอง (Self-Care) พึ่งตนเองได้ (Self-Reliance)
              ให้กับตนเองและสังคมได้ ถึงแม้ว่าลักษณะงานที่ได้  และสามารถน�าศักยภาพที่มีอยู่ในตัวผู้สูงอายุน�ามา
              กระท�านั้นจะได้ค่าตอบแทนเป็นเงินทองหรือไม่   ใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อผู้อื่น และสังคม ซึ่งก็สอดคล้อง
              ก็ตาม แต่ถ้าสิ่งที่ท�านั้นส่งผลต่อความภาคภูมิใจให้  กับกรอบแนวคิดของคุณภาพชีวิตในวัยสูงอายุที่จะ

              กับตนเองก็ย่อมที่จะส่งผลดีต่อสุขภาพของผู้สูงอายุ  ต้องพบเจอกับสิ่งแวดล้อมที่รายรอบอยู่ทุกด้าน
              เองด้วย                                      กว่าที่ผู้สูงอายุคนหนึ่งสามารถที่จะมีคุณภาพใน
                                                           ชีวิตที่ดีได้นั้นต้องอาศัยทั้งกาย จิต ปัญญา และ
                                                           สังคม เข้ามาเป็นองค์ประกอบหลักของชีวิต พร้อม

                                                           ทั้งการเรียนรู้เรียนราวที่เกิดการเปลี่ยนแปลงใน
                                                           สังคมตลอดเวลา ซึ่งผู้สูงอายุเองนั้นก็ต้องมีการ
                                                           เตรียมความพร้อมเพื่อรองรับกับการใช้ชีวิตให้ได้ใน
                                                           ทุกๆ ด้าน ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ และสังคม เพื่อให้

                                                           เกิดความพร้อมการก้าวย่างสู่วัยสูงอายุอย่างสง่างาม
                                                           นี้เป็นฐานหลักของการเพิ่มคุณค่าให้กับตนเอง
                                                           รู้คุณค่าผ่านความสามารถและทักษะต่างๆ ที่ได้
                                                           แสดงออกมาด้วยความจริงใจ ซึ่งการเป็นบุคคล

                  การน�าศักยภาพและความสามารถในตัวตน        “สูงวัย”อย่างมีคุณภาพนั้นมีความจ�าเป็นและ
              ออกมาใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคมเป็นภาวะของ   ส�าคัญอย่างยิ่งที่จะต้องเริ่มเตรียมความพร้อมหรือ
              ผู้สูงอายุที่ยังคงมีความคล่องแคล่ว กระตือรือร้น   ปรับเปลี่ยนจาก“ตัวตน” ของผู้สูงอายุเป็นหลัก ทั้ง
              เคลื่อนไหวที่คล่องตัวและมีประสิทธิภาพ ประกอบ  มุมมอง ทัศนคติ หรือกระทั่งการตีตราตัวเองตาม

              กับกระบวนการคิดและการเรียนรู้ยังคงมีความ     การก�าหนดความหมายทางสังคมเหมือนที่ผ่านมา
              สมบูรณ์ถึงแม้บางครั้งอาจจะเกิดความล่าช้าในการ  ทั้งนี้การเป็นสูงวัยที่มีคุณภาพประกอบด้วย 4 ดี
              ประมวลข้อมูลต่างๆ แต่โดยภาพรวมแล้วยังคง      ดังนี้
              เป็นกลุ่มผู้สูงอายุที่สามารถเป็นก�าลังในการช่วย  1. “คิดดี” การก�าหนดนิยามความหมายว่า

              ขับเคลื่อนเศรษฐกิจของสังคมได้ดี แนวคิดผู้สูงอายุ  ผู้สูงอายุเป็นกลุ่มคนที่ต้องอยู่ในภาวะพึ่งพิงมากกว่า
              ที่ยังคุณประโยชน์ (Productive Aging) มองว่าการ  ที่จะอยู่ในสถานะของผู้ผลิตสร้างทางสังคม การ
              เป็นผู้สูงอายุที่มีศักยภาพ มีความสามารถ มีความรู้   ถูกมองเช่นนี้จากสังคมเหมือนเป็นการตีตราใน
              ทักษะ และประสบการณ์ในชีวิตของตนเองมาใช้ให้   ความเชื่อเดิมที่ว่าเมื่อเข้าสูงวัยสูงอายุเมื่อไหร่

              เกิดประโยชน์ต่อตนเอง ผู้อื่น และสังคม โดยผลจาก  บุคคลนั้นก็จะคลายเป็นบุคคลซึ่งไร้ความสามารถ
              การได้ปฏิบัติเหล่านี้อาจจะได้รับทั้งค่าตอบแทน   และศักยภาพในทันที พร้อมทั้งยังต้องเป็นกลุ่มที่
              และไม่ได้รับค่าตอบแทน แต่สิ่งที่ผู้สูงอายุได้   รอคอยแต่ความช่วยเหลือจากบุคคลอื่นและสังคม
              คือ ความสุขทางกาย จิต สังคม และจิตวิญญาณ     เสมอไป ความเชื่อเดิมๆ ที่ฝังรากลึกในจิตใจของ

              ผู้สูงอายุที่มีพลัง (Power) สามารถช่วยเหลือตนเอง   คนไทยมาช้านานก็ยากที่จะเกิดการเปลี่ยนแปลง


                                                                    ปที่ 38 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2560   11
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11