Page 5 - ต้นหอม บาส
P. 5
ประวัติและความเป็ นมา
■ ศตวรรษที่ 15 การดนตรีได้เริ่มเบ่งบานขึ้นด้วยการท างานอย่างหนักของนัก
ดนตรี 3 ท่านคือ พาเลสตริน่า (Giovanni Palestrina 1525-1594) ผู้ซึ่งได้รับการ
ยกย่องว่าเป็น บิดาแห่งดนตรีสมัยใหม่ (The Father of Modern Music) ลาสซุส
(Orland Lassus) และไบร์ด (William Byrd) ท่านทั้ง 3 นี้เป็นผู้เปิดประตูของศิลป
การดนตรีจากยุคกลางไปสู่ยุคเรอเนสซองส์ อันเป็นยุคแห่งการฟื้นฟูศิลป
วิทยาการทุกแขนง ในยุคนี้งานดนตรีเริ่มมีกฎเกณฑ์ในงานประพันธ์บทเพลงมาก
ขึ้นรวมทั้งเพลงร้องในโบสถ์จ านวนนับร้อยและมอตเต็ตอีกจ านวน 600 เพลงซึ่ง
ท าให้ท่านได้รับการขนานนามว่า บิดาแห่งดนตรีสมัยใหม่
■ อุปรากร หรือ (Opera) ได้ถือก าเนิดขึ้นในปลายศตวรรษที่ 16 ณ เมืองฟลอ
เรนซ์ (Florence หรือ Firence) ประเทศอิตาลี และได้พัฒนามาอย่างต่อเนื่อง
จนถึงจุดสูงสุดที่กรุงเวียนนา (Vienna)ประเทศออสเตรียโดยคีตกวีกลุ๊ค (Gluck)
และโมสาร์ท (Wolfgang Amadeus MoZart) ในปลายศตวรรษที่ 18 และช่วง
ปลายศตวรรษที่ 19 อุปรากรได้รับการพัฒนาต่อมาอีกอย่างรุ่งเรืองโดยคีตกวีที่มี
ชื่อเสียงได้แก่ เบลลีนี่ (Belini) โดนีเซตติ (donizetti) รอสซินี่ (Rossini)แวร์ดี้
(Verdi) ปุชชินี่ (Puccini) เป็นต้น
■ ดนตรีคลาสสิก (Classical Music) ได้เริ่มขึ้นในศตวรรษที่ 17 และต่อเนื่องมา
จนถึงต้นศตวรรษที่ 18 โดยมีศิลปินอิตาเลี่ยนเป็นผู้น า ท่านเหล่านี้ได้ส่งเสริมและ
สนับสนุนการดนตรีให้เข้าสู่ชีวิตจิตใจชาวยุโรปอย่างแพร่หลาย ซึ่งมีเมืองที่เป็น
แหล่งก าเนิดของงานดนตรีนี้ได้แก่ โรม เนเปิล ฟลอเรนซ์ อิทธิพลงานศิลปะการ
ดนตรีของอิตาลีได้แผ่ขยายไปอย่างกว้างขวางสู่ยุโรปตะวันตก ส่วนทางซีก
ตะวันออกนั้นกรุงเวียนนาเป็นศูนย์รวมที่ส าคัญทางดนตรี โดยมีนักดนตรีชาว
อิตาเลี่ยนที่ส าคัญได้แก่ ซิมาโรซ่า เพสซิชิลโล กัลลูปปี้ ซึ่งเดินทางเข้าไปท างาน
ที่นครเวียนนา เวียนนาจึงเป็นศูนย์กลางของดนตรีคลาสสิกและมีความรุ่งเรือง
ติดต่อกันมาถึง 200 ปี ดนตรีคลาสสิกจัดได้ว่าเป็นศิลปะการดนตรีแห่งยุคที่
ดนตรีได้รับการพัฒนามาถึงจุดสูงสุดทั้งการประพันธ์และเครื่องดนตรี อาทิ
ออร์แกน เปียโน และเครื่องดนตรีของตระกูลไวโอลิน เป็นต้น อันเป็นผลมาจาก
การการฟื้นฟูศิลปะการดนตรีจากยุคเรอเนสซองส์