Page 28 - 07_ความรเบยงตนเกยวกบกฎหมาย_Neat
P. 28

๑๙




                                              ในบางประเทศไดมีการแยกกฎหมายแพงและพาณิชยไวตางหาก
                 จากกัน เชน ประเทศฝรั่งเศสและเยอรมนี ประเทศเหลานี้จะมีศาลพาณิชย แยกตางหากจากศาลแพง

                 แตสําหรับประเทศไทยไดรวบรวมเอากฎหมายแพงกับกฎหมายพาณิชยไวดวยกันเรียกวา “ประมวล
                 กฎหมายแพงและพาณิชย”

                                 ò.ó ¡®ËÁÒÂÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È
                                       กฎหมายระหวางประเทศ คือ กฎหมายที่กําหนดความสัมพันธระหวาง

                 รัฐตอรัฐในฐานะที่เทาเทียมกัน
                                       ความจริงแลวไมมีตัวบทกฎหมายระหวางประเทศบัญญัติไวเปนลายลักษณ

                 อักษร เพียงเปนธรรมเนียมประเพณีที่ถือกันมา หรืออยางมากก็เปนสนธิสัญญาที่ทํากันขึ้นระหวาง
                 ประเทศ ดังนั้น จึงอาจกลาวไดวากฎหมายระหวางประเทศเปนเพียงธรรมเนียมปฏิบัติระหวางประเทศ

                 เทานั้นเอง
                                       กฎหมายระหวางประเทศแบงแยกออกเปน ๓ สาขา ไดแก

                                       ò.ó.ñ ¡®ËÁÒÂÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·Èá¼¹¡¤´ÕàÁ×ͧ  เปนขอบังคับกําหนด
                 ความสัมพันธระหวางรัฐ ทั้งในยามสงบและยามสงครามโดยแบงออกเปน

                                              (๑)  กฎหมายระหวางประเทศแผนกคดีเมืองภาคสันติ เปนขอกําหนด
                 เกี่ยวกับรัฐ เชน ลักษณะของรัฐ อาณาเขตของรัฐ หรือหลักเกณฑในการทําสนธิสัญญาตางๆ เปนตน

                                              (๒)  กฎหมายระหวางประเทศแผนกคดีเมืองภาคสงคราม เปนขอความ

                 เกี่ยวกับการทําสงคราม
                                       ò.ó.ò ¡®ËÁÒÂÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·Èá¼¹¡¤´ÕºØ¤¤Å เปนขอบังคับกําหนดสิทธิ
                 หนาที่ และความสัมพันธระหวางบุคคล ซึ่งเปนพลเมืองของประเทศที่ตางกันในกรณีที่มีขอพิพาท

                 เกี่ยวกับตางประเทศในเรื่องตางๆ เชน การไดสัญชาติ การแปลงสัญชาติ การสมรส  ทรัพยสิน นิติกรรม

                 สัญญา มรดก เปนตน
                                       ò.ó.ó ¡®ËÁÒÂÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·Èá¼¹¡¤´ÕÍÒÞÒ เปนขอบังคับที่กําหนด

                 ความสัมพันธระหวางรัฐในทางอาญาเกี่ยวกับเขตอํานาจ การรับรูคําพิพากษาทางอาญาของประเทศอื่น
                 ตลอดจนการสงตัวผูรายขามแดน เปนตน



                 ¡ÒèѴทํา¡®ËÁÒÂã¹áμ‹ÅÐÃٻẺ
                             ประเทศไทยเปนประเทศที่ใชระบบกฎหมายซีวิล ลอว กฎหมายที่ใชอยูจึงเปนกฎหมาย

                 ลายลักษณอักษรอันเปนกฎหมายที่เกิดขึ้นจากการบัญญัติกฎหมายซึ่งมีวิธีการบัญญัติหรือการจัดทํา

                 ที่แตกตางกัน ดวยเหตุนี้ กฎหมายลายลักษณอักษรจึงมีชื่อเรียก รูปแบบ และมีความสําคัญแตกตางกัน
                 ออกไปตามฐานะขององคกรที่มีอํานาจบัญญัติกฎหมายนั้นๆ เพราะฝายนิติบัญญัติ ซึ่งมีหนาที่

                 ในการจัดทํากฎหมายลายลักษณอักษร อาจจะมอบอํานาจในการจัดทํากฎหมายใหแกองคกรฝายบริหาร
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33