Page 30 - 07_ความรเบยงตนเกยวกบกฎหมาย_Neat
P. 30

๒๑



                             ñ. ¡®ËÁÒÂÅÒÂÅѡɳÍÑ¡É÷ÕèÍÍ¡â´Â½†Ò¹ÔμÔºÑÞÞÑμÔ
                                 มีลักษณะและขั้นตอนในการจัดทํา ดังนี้

                              ñ.ñ  ÃÑ°¸ÃÃÁ¹ÙÞ
                                       รัฐธรรมนูญ เปนกฎหมายสูงสุดในการปกครองประชาชน เปนกฎหมายที่กําหนด

                 รูปแบบการปกครองและระเบียบการบริหารประเทศ ผูที่มีอํานาจจัดหาสูงสุดในการปกครองประเทศ
                 ขณะนั้น ไมวาจะไดอํานาจมาโดยวิธีใดก็ตาม อาจจะเปนประมุขของประเทศหรือหัวหนาคณะปฏิวัติ
                 หรือรัฐประหาร ที่ตองการเปลี่่่ยนการปกครองจากการใชกําลัง มาเปนการปกครองภายใตรัฐธรรมนูญ

                 ในสถานการณที่มีการปฏิวัติรัฐประหารยึดอํานาจการปกครอง การจัดทํารัฐธรรมนูญอาจกระทําอยาง
                 รวบรัด ตั้งแตการยกราง การพิจารณาโดยไมเปดเผยแลวประกาศใชเลยก็ได แตโดยหลักการแลวเทาที่

                 ผานมา หัวหนาคณะปฏิวัติจะถวายอํานาจการตรารัฐธรรมนูญแดพระมหากษัตริย โดยนําขึ้นทูลเกลาฯ
                 ใหทรงลงพระปรมาภิไธย โดยมีหัวหนาคณะปฏิวัติเปนผูลงนามรับสนองพระบรมราชโองการประกาศใช
                 เชน พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผนดินสยาม ฉบับชั่วคราว พ.ศ.๒๔๗๕ ซึ่งเปนรัฐธรรมนูญ

                 ฉบับแรกของประเทศไทย ธรรมนูญปกครองราชอาณาจักร พ.ศ.๒๕๐๒ และ พ.ศ.๒๕๒๐ เปนตน
                                       ในสถานการณปกติ การจัดทํารัฐธรรมนูญจะมีการแตงตั้งหรือเลือกคณะบุคคล
                 ขึ้นมาทําหนาที่ยกรางและพิจารณา อาจเรียกวาสภานิติบัญญัติแหงชาติ สภารางรัฐธรรมนูญ หรือ

                 อาจมีชื่อเรียกเปนอยางอื่นก็ได เมื่อยกรางและพิจารณาเสร็จแลวก็จะนําขึ้นทูลเกลาฯ พระมหากษัััตริย
                 ทรงลงพระปรมาภิไธยและประกาศใชโดยมีสภาดังกลาวเปนผูรับสนองพระราชโองการ เชน การจัดทํา
                 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๑๑ และรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

                 พุทธศักราช ๒๕๔๐ เปนตน
                              ñ.ò  ¾ÃÐÃÒªºÑÞÞÑμÔ

                                       พระราชบัญญัติเปนกฎหมายที่มีความสําคัญรองลงมาจากรัฐธรรมนูญ
                 เปนกฎหมายที่ออกโดยฝายนิติบัญญัติ โดยพระมหากษัตริยทรงตราขึ้นตามคําแนะนําและยินยอม
                 ของรัฐสภา

                                       ¡ÒûÃСÒÈ㪌¾ÃÐÃÒªºÑÞÞÑμÔ
                                       พระราชบัญญัติที่พระมหากษัตริยทรงลงพระปรมาภิไธย เมื่อนําไปประกาศใน

                 ราชกิจจานุเบกษาแลวใหใชบังคับเปนกฎหมายได
                             ò. ¡®ËÁÒÂÅÒÂÅѡɳÍÑ¡É÷ÕèÍÍ¡â´Â½†ÒºÃÔËÒÃ
                              ò.ñ  ¾ÃÐÃÒªกํา˹´

                                       พระราชกําหนดเปนกฎหมายที่ออกโดยฝายบริหาร ซึ่งพระมหากษัตริย
                 ทรงตราขึ้นใหใชบังคับเชนเดียวกับพระราชบัญญัติ โดยคําแนะนําของคณะรัฐมนตรี แลวนําเสนอใหรัฐสภา
                 พิจารณาอนุมัติ พระราชกําหนดแบงออกเปน ๒ ประเภท คือ

                                       ๑.  พระราชกําหนดทั่วไป  จะออกไดในกรณีฉุกเฉินที่มีความจําเปน
                 รีบดวนอันมิอาจหลีกเลี่ยงได เพื่อประโยชนในการรักษาความปลอดภัยของประเทศ หรือความมั่นคง

                 ทางเศรษฐกิจ หรือปองปดพิบัติสาธารณะ
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35