Page 35 - 07_ความรเบยงตนเกยวกบกฎหมาย_Neat
P. 35

๒๖




                          ¼ÙŒμÕ¤ÇÒÁ¡®ËÁÒ แยกพิจารณาออกไดเปน ๓ ประเภท ไดแก
                          ๑.  ผูใชกฎหมาย

                          ๒.  ผูบัญญัติกฎหมาย
                          ๓.  นักนิติศาสตร


                          ๑.  การตีความโดยผูใชกฎหมาย ในกลุมของผูใชกฎหมายแยกออกไดเปน ๓ ประเภท คือ

                             ๑.๑  ประชาชน ตองใชกฎหมายเพื่อการดํารงชีวิตของตน และในสวนที่มีกฎหมาย
              เขามาเกี่ยวของประชาชนตองเขาใจความหมายของกฎหมายนั้น หากบทกฎหมายไมชัดเจนก็ตอง

              ตีความเพื่อใหทราบวาบทบัญญัตินั้นใหสิทธิหรือกําหนดหนาที่และความคุมครองตนเพียงใด เชน
              การทํานิติกรรมในทางแพง การตีความกฎหมายจะชวยใหทราบวาตนมีสิทธิและหนาที่อะไรบาง
              หรือในทางอาญาหากจะกระทําการหรืองดเวนการกระทําอยางใดอยางหนึ่ง อันมีขอสงสัยวามีบทบัญญัติ
              กฎหมายอาญาวาเปนความผิดหรือไมก็อาจปรึกษาผูรูกฎหมายหรือทนายกอนได

                             ๑.๒  เจาพนักงาน เปนผูตองใชกฎหมายในการปฏิบัติหนาที่ซึ่งขึ้นอยูกับลักษณะ
              ของงานและขอบขายความรับผิดชอบของตําแหนงหนาที่ เมื่อเกิดปญหากฎหมายมีขอความคลุมเครือ

              ไมชัดเจน เจาพนักงานก็ตองตีความเพื่อใหทราบความหมายที่ถูกตองของกฎหมายนั้นกอนที่จะนําไปใช
              เนื่องจากการใชกฎหมายของเจาพนักงานอาจมีผลกระทบกระเทือนตอประชาชนหรือเอกชนอื่นๆ ได
              การตีความกฎหมายของเจาพนักงานถาประชาชนเห็นวา การตีความของเจาพนักงานเปนการตัดสิทธิ
              หรือเสรีภาพของตนอาจฟองรองตอศาลเพื่อวินิจฉัยชี้ขาดได แตในบางกรณีกฎหมายไดใหอํานาจแก

              เจาพนักงานในการตีความและถือวาเด็ดขาด จะมีการอุทธรณตอไปไมได เชน โทษที่มีความผิดเพียง
              การปรับเจาพนักงานมีอํานาจปรับผูกระทําผิด และถือวาความผิดนั้นเปนอันสิ้นสุดเมื่อผูกระทําผิด

              ชําระคาปรับ เปนตน
                             ๑.๓  ศาลยุติธรรม  เปนองคกรผูใชกฎหมายซึ่งมีหนาที่นํากฎหมายใชปรับกับคดี
              ตางๆ ที่มีผูยื่นฟองตอศาล และในการพิจารณาคดีก็มีบทบัญญัติของกฎหมายเปนหลัก แตบางครั้ง
              ในบางกรณีอาจประสบกับปญหาที่กฎหมายมีขอความไมชัดเจน หรือตัวบทบัญญัติกฎหมายที่มีอยู

              ไมสามารถนําไปปรับกับคดีที่เกิดขึ้นได ศาลจะตองตีความเพื่อนํากฎหมายมาวินิจฉัยชี้ขาดแกคดี
              ใหเปนไปในทางใดทางหนึ่งเพื่อรักษาไวซึ่งความยุติธรรมและความสงบเรียบรอยของประชาชน

              และการตีความของศาลถือวามีความสําคัญมากกวาผูใชกฎหมายอื่นๆ เนื่องจากผลการตีความจะมีผล
              บังคับตอคูกรณีที่ยื่นฟองคดีตอศาล
                          ๒.  การตีความโดยผูบัญญัติกฎหมาย ในกรณีบทบัญญัติของกฎหมายเกาคลุมเครือ

              ไมชัดเจน และศาลแตละแหงตีความแตกตางกัน จนอาจจะทําใหเสียประโยชนตอการใชกฎหมาย
              ลายลักษณอักษร ซึ่งตองเปนขอบังคับที่มีความหมายใชบังคับอยางเดียวกันทั่วราชอาณาจักร ผูบัญญัติ
              กฎหมายอาจแกไขปญหานี้ไดโดยการออกกฎหมายฉบับใหมออกมาตีความกฎหมายเกา โดยอธิบาย

              ขอความที่ไมชัดเจนนั้นและใหใชขอความใหมตามกฎหมายใหม ซึ่งจะชวยใหปญหาความไมชัดเจนของ
              ขอความตามกฎหมายเกาหมดไป
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40