Page 42 - 07_ความรเบยงตนเกยวกบกฎหมาย_Neat
P. 42
๓๓
º··Õè ô
หลักทั่วไปของกฎหมายแพงและพาณิชย
ประเทศไทยรวมกฎหมายแพงและพาณิชยเขาไวดวยกัน เรียกวา ประมวลกฎหมายแพง
และพาณิชย ซึ่งมีทั้งหมด ๖ บรรพ ๑๗๕๕ มาตรา
บรรพที่ ๑หลักทั่วไป กลาวถึงบทเบ็ดเสร็จทั่วไป บุคคล ทรัพย นิติกรรม
บรรพที่ ๒หนี้ กลาวถึงบทเบ็ดเสร็จทั่วไป สัญญา จัดการงานนอกสั่ง ลาภมิควรได ละเมิด
บรรพที่ ๓ เอกเทศสัญญา กลาวถึงสัญญาซื้อขาย แลกเปลี่ยน ให เชาทรัพย เชาซื้อ คํ้าประกัน จํานอง
จํานํา ฯลฯ
บรรพที่ ๔ทรัพยสิน กลาวถึงกรรมสิทธิ์ สิทธิครอบครอง ฯลฯ
บรรพที่ ๕ ครอบครัว กลาวถึงการหมั้น การสมรส ความสัมพันธระหวางสามีภรรยา ความสัมพันธ
ระหวางบิดามารดาและบุตร บุตรบุญธรรม คาอุปการะเลี้ยงดู ฯลฯ
บรรพที่ ๖ มรดก กลาวถึงบทเบ็ดเสร็จทั่วไป การรับมรดก สิทธิโดยชอบธรรมในการรับมรดก
พินัยกรรม
ในการจัดทําประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ประเทศไทยไดนําตนแบบมาจากประมวล
กฎหมายของประเทศที่ใชระบบ Civil law ไดแก ประเทศเยอรมนี และประเทศญี่ปุน ทั้งยังอาศัยประมวล
กฎหมายแพงฝรั่งเศส และประมวลกฎหมายแพงสวิสมาใชประกอบ นอกจากนี้ ยังไดนํากฎหมายเดิม
ของสยามเองเขามาผสมผสานโดยเฉพาะในสวนของครอบครัวและมรดก ซึ่งสังคมไทยและสังคม
ตะวันตกที่มีความแตกตางกัน ทั้งนี้ ประเทศไทยไดประกาศใชประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
ครบทั้ง ๖ บรรพเปนครั้งแรกใน พ.ศ. ๒๔๗๘
¡ÒÃ㪌¡®ËÁÒÂᾋ§à¾×èÍ»ÃÐ⪹㹡ÒÃดําà¹Ô¹ªÕÇÔμã¹Êѧ¤Á
บทเบ็ดเสร็จทั่วไปในลักษณะ ๑ บรรพ ๑ ไดบัญญัติไวเกี่ยวกับหลักทั่วไปในทางแพง
มีสาระสําคัญที่ควรรู ดังนี้
๑. ในการใชสิทธิแหงตนก็ดี ในการชําระหนี้ก็ดี บุคคลทุกคนตองกระทําโดยสุจริต
(มาตรา ๕)
๒. ใหสันนิษฐานไวกอนวา บุคคลทุกคนกระทําการโดยสุจริต (มาตรา ๖)