Page 44 - 07_ความรเบยงตนเกยวกบกฎหมาย_Neat
P. 44

๓๕




                             สิทธิและหนาที่ตามกฎหมายของบุคคลธรรมดาจะเริ่มตนเมื่อบุคคลธรรมดามีสภาพบุคคล
                 ดังกลาวแลว โดยเฉพาะสิทธิของบุคคลเริ่มขึ้นตั้งแตปฏิสนธิในครรภมารดา แตมีเงื่อนไขวา เมื่อคลอด

                 ออกจากครรภมารดาแลวตองมีชีวิตรอดอยู สิทธิและหนาที่นี้จะมีอยูคูกับบุคคลไปเรื่อยๆ จนกวา
                 จะสิ้นสภาพบุคคล ซึ่งการสิ้นสภาพบุคคลของบุคคลธรรมดาตามที่กฎหมายกําหนดไวคือการตาย

                 ตามธรรมชาติ และการตายโดยผลของกฎหมายหรือการสาบสูญ
                             ñ.ñ ÊÀÒ¾ºØ¤¤Å¢Í§ºØ¤¤Å¸ÃÃÁ´Ò ประกอบดวย

                                  ๑)  สัญชาติของบุคคล สัญชาติ หมายถึง การที่บุคคลเปนสมาชิกในประเทศชาติ
                 ที่มีชาติพันธุเดียวกัน หรือหมายถึง สภาพตามกฎหมายของบุคคลซึ่งผูกพันโดยขอกฎหมายที่จงรัก

                 ภักดีตอรัฐ บุคคลอาจไดสัญชาติมาโดยการเกิด การแปลงสัญชาติ การกลับคืนสัญชาติและการผนวก
                 ดินแดน สิทธิในสัญชาติของบุคคลธรรมดาเปนจุดเริ่มตนของสิทธิในทางการเมืองของบุคคล กรรมสิทธิ์

                 ในทรัพยสิน และสิทธิอื่นตามกฎหมาย
                                  ๒)  ชื่อของบุคคล ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๑๘ กําหนดใหบุคคล

                 มีสิทธิในชื่อของตน และมีสิทธิที่จะหามมิใหผูอื่นใชชื่อของตนได ซึ่งตามพระราชบัญญัติชื่อบุคคล

                 พ.ศ.๒๕๐๕ แบงชื่อหรือนามของบุคคลออกเปน ชื่อตัว ชื่อรอง และชื่อสกุล ทั้งนี้ ชื่อบุคคลที่เปน
                 นามแฝงหรือนามปากกา ตลอดจนชื่อทางการคาก็ไดรับการคุมครองจากมาตรา ๑๘ ของประมวล
                 กฎหมายแพงและพาณิชยดวย

                                  ๓)  ภูมิลําเนาของบุคคล ไดแก ถิ่นอันบุคคลนั้นมีสถานที่อยูเปนแหลงสําคัญ

                 ตามที่บัญญัติไวในประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๓๗ ดังนั้นภูมิลําเนาของบุคคลจึงเปน
                 ถิ่นที่อยูตามกฎหมายของบุคคลทั้งบุคคลธรรมดาและนิติบุคคล

                                  ๔)  สถานะของบุคคล ไดแก ฐานะของบุคคลที่มีผลทางกฎหมายเกี่ยวกับสิทธิ
                 หนาที่ ตลอดจนความสามารถในการใชสิทธิของบุคคลนั้น สวนใหญกฎหมายกําหนดวาตองมีการ

                 จดทะเบียนสถานะ เชน สมรส หยา รับรองบุตร และการรับบุตรบุญธรรม เปนตน
                             ñ.ò ¡ÒÃÊÔé¹ÊÀÒ¾ºØ¤¤Å  ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๑๕ วรรคแรก

                 ตอนทายบัญญัติเกี่ยวกับการสิ้นสภาพบุคคลไววา “สภาพบุคคลสิ้นสุดลงเมื่อตาย” การตายตามที่
                 บัญญัติไวในกฎหมายนี้มี ๒ กรณี คือ การตายตามธรรมชาติ และการตายโดยผลของกฎหมาย

                 หรือการสาบสูญ ซึ่งเปนกรณีที่บุคคลไปจากภูมิลําเนาหรือถิ่นที่อยูโดยไมมีใครรูแนวา ยังมีชีวิต
                 หรือตายแลว เปนระยะเวลาติดตอกัน ๕ ป ในกรณีธรรมดา หรือเปนระยะเวลาติดตอกัน ๒ ป ในกรณี

                 ที่หายไปในสงคราม หรือเดินทางไปกับยานพาหนะที่อับปางหรือสูญหายไป หรือตกอยูในที่อันตราย
                 เชน ทามกลางบริเวณที่มีการกอการจลาจล เพื่อไมใหเกิดการเสียหายตอผูมีสวนไดเสีย เชน คูสมรส

                 หรือบิดามารดา อาจรองขอตอศาลหรืออาจใหพนักงานอัยการรองขอใหศาลสั่งใหบุคคลผูนั้นเปน
                 ผูสาบสูญก็ได ซึ่งคําสั่งใหเปนบุคคลผูสาบสูญตองประกาศในราชกิจจานุเบกษา ผลทางกฎหมาย

                 ที่ตามมาคือ มรดกที่มีตกทอดไปยังทายาท สิทธิและฐานะอันเปนการเฉพาะตัวสิ้นสุดลง สิ้นสุด
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49