Page 44 - 08_กฎหมายอาญา_Neat
P. 44

๓๑




                 เปนลายพิมพนิ้วหัวแมมือขางขวาของโจทกซึ่งนําสืบไดเพราะเปนรายละเอียด การลงลายมือชื่อใน
                 หนังสือมอบอํานาจของโจทกจึงชอบดวยกฎหมายแลว

                             (ññ) “¡ÅÒ§¤×¹” หมายความวา เวลาระหวางพระอาทิตยตกและพระอาทิตยขึ้น
                             คํา͸ԺÒÂ

                             กลางคืนตามบทบัญญัติของกฎหมาย ไมถือเวลาตามนาฬกา แตถือเอาเวลาพระอาทิตยตก
                 กลาวคือ ถือเอาเกณฑมองไมเห็นดวงอาทิตยแลว จนกระทั่งถึงเวลาเห็นดวงอาทิตยขึ้น

                             ®Õ¡Ò·Õè ñòùò/òôùø เวลาจวนพลบคํ่า ยังไมมืด ไมใชเวลากลางคืนตามกฎหมาย
                             ®Õ¡Ò·Õè öôñ/òôùù  ตะวันตกดินแลว แมจะยังไมมืดดี ก็เปนเวลากลางคืนตามกฎหมาย

                             (ñò) “¤ØÁ¢Ñ§” หมายความวา คุมตัว ควบคุม ขัง กักขัง หรือจําคุก
                             คํา͸ԺÒÂ

                             ¤ØÁ¢Ñ§ เปนคํารวมที่กินความหมายถึง การกระทําทุกอยางที่จํากัดเสรีภาพ
                             ¤ØÁμÑÇ มีที่ใชในมาตรา ๓๙ (๔), ๔๘, ๔๙ ในกรณีคุมตัวไวในสถานพยาบาล
                             ¤Çº¤ØÁ  มีที่ใชในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา  มาตรา  ๒ (๒๑)

                 โดยพนักงานฝายปกครอง หรือตํารวจควบคุมผูถูกจับในระหวางสืบสวนและสอบสวน
                             ¢Ñ§  มีที่ใชในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๒ (๒๒) โดยศาลขัง

                 จําเลยหรือผูตองหาโดยศาลออกหมายขัง
                             ¡Ñ¡¢Ñ§ เปนโทษอยางหนึ่งซึ่งบัญญัติไวในมาตรา ๑๘ (๓)

                             จํา¤Ø¡ เปนโทษอยางหนึ่งซึ่งบัญญัติไวในมาตรา ๑๘ (๒)
                             ความผิดเกี่ยวกับการคุมขัง ไดแก ความผิดเกี่ยวกับการยุติธรรมตามมาตรา ๑๙๐,

                 ๑๙๑, ๑๙๒, ๑๙๕, ๒๐๔, ๒๐๕ และความผิดเกี่ยวกับเสรีภาพตามมาตรา ๓๑๐, ๓๑๑, ๓๑๓ และ
                 มาตรา ๓๑๖

                             ®Õ¡Ò·Õè óõùø/òõóñ  แมการที่พนักงานสอบสวนจะรับตัวผูตองหาควบคุมไว
                 โดยมิไดยื่นคํารองตอศาลขอหมายขังอันเปนการไมปฏิบัติตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

                 มาตรา ๘๗ ก็ตาม แตการควบคุมนั้นก็ยังคงเปนการควบคุมตามอํานาจของพนักงานสอบสวนอยู ดังนั้น
                 จําเลยซึ่งเปนเจาพนักงานตํารวจมีหนาที่ควบคุมดูแลผูตองขังตามอํานาจของพนักงานสอบสวนไดปลอยตัว

                 ผูตองขังไป จึงเปนการกระทําใหผูที่อยูในระหวางคุมขังนั้นหลุดพนจากการคุมขัง จําเลยจึงมีความผิด
                 ตามประมวลกฎหมาย มาตรา ๒๐๔

                             (ñó) “¤‹Òä¶‹”  หมายความวา  ทรัพยสินหรือประโยชนที่เรียกเอา  หรือให
                 เพื่อแลกเปลี่ยนเสรีภาพของผูถูกเอาตัวไป ผูถูกหนวงเหนี่ยว หรือผูถูกกักขัง
                             ความผิดเกี่ยวกับคาไถ ไดแก ความผิดเกี่ยวกับเสรีภาพตามมาตรา ๓๑๓ และ ๓๑๖
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49