Page 67 - 08_กฎหมายอาญา_Neat
P. 67

๕๔




                         ขอสังเกตอีกประการหนึ่งสําหรับความผิดฐานปลนทรัพย ถาเกิดขึ้นในทะเลหลวงเปน
              ความผิดที่ระบุไวในมาตรา ๗ (๓) ถามิไดเกิดขึ้นในทะเลหลวงเปนความผิดที่ระบุไวในมาตรา ๘ (๙)

              (แตก็ตองเปนกรณีความผิดที่เกิดขึ้นนอกราชอาณาจักรดวย) จึงตองมีการรองขอใหลงโทษจําเลย
              ในราชอาณาจักรดวย ดูฎีกาที่ ๘๐๑/๒๕๐๕ (ประชุมใหญ)
                         ฎีกาที่ ๘๐๑/๒๕๐๕ (ประชุมใหญ)  คดีที่จําเลยเปนคนสัญชาติไทยกระทําผิดฐานปลนทรัพย

              นอกราชอาณาจักร ซึ่งผูเสียหายไดรองขอใหลงโทษจําเลยภายในราชอาณาจักรตองตาม ป.อ.
              มาตรา ๘ นั้น โจทกไมมีหนาที่นําสืบแสดงวาไมมีขอหามมิใหลงโทษจําเลยตามมาตรา ๑๐ อีก

                         คําอธิบาย  คดีนี้ความผิดฐานปลนทรัพยเกิดขึ้นนอกราชอาณาจักร แตมิไดเกิดในทะเลหลวง
              กรณีไมตองดวยมาตรา ๗ (๓) แตตองดวยมาตรา ๘ (๙) ผูเสียหายจึงตองรองขอใหลงโทษจําเลย
              ในราชอาณาจักร ศาลไทยจึงมีอํานาจลงโทษได

                         ฎีกาที่ ๑๒๘๙/๒๕๒๑  จําเลยเปนคนไทยกระทําความผิดฐานยักยอกตาม ป.อ.มาตรา
              ๓๕๓ ที่ประเทศไตหวัน ผูเสียหายจึงรองทุกขและศาลไทยมีอํานาจลงโทษจําเลยตามมาตรา ๘ (๑๑)

                         ฎีกาที่ ๔๕๘/๒๕๐๓ (ประชุมใหญ) ความผิดฐานลักทรัพยและรับของโจรซึ่งคนไทย
              ทําขึ้นในตางประเทศนั้น ป.อ.มาตรา ๘ มิไดมีขอความกําหนดใหโจทกจําตองนําสืบวาจะตองเปน
              การกระทําที่กฎหมายในตางประเทศบัญญัติวาเปนความผิด ทั้งความผิดทั้งสองฐานนี้ก็ไดมีบัญญัติ

              ไวในมาตรา ๘(๘)(๑๒) แลว ฉะนั้น แมความผิดทั้งสองฐานนี้จะเกิดขึ้นในตางประเทศโจทกก็ไมจําตอง
              นําสืบวาความผิดดังกลาวเปนความผิดของประเทศนั้น ๆ ดวย

                         ฎีกาที่ ๙๐๑/๒๕๐๕, ๕๗/๒๕๐๘   วินิจฉัยทํานองเดียวกัน
                         ฎีกาที่ ๓๗๙๕-๓๗๙๖/๒๕๓๘   จําเลยที่ ๑ รูอยูแลววาเงินที่ไดรับมาจาก ก. เปนทรัพยสิน
              ที่ไดมาจากการกระทําผิดฐานฉอโกงในประเทศญี่ปุน ความผิดฐานฉอโกงและความผิดฐานรับของโจร

              ตามประมวลกฎหมายอาญาของประเทศญี่ปุน มีหลักเชนเดียวกับความผิดฐานฉอโกงและความผิด
              ฐานรับของโจรตามประมวลกฎหมายอาญาของไทย ดังนั้น เมื่อจําเลยที่ ๑๑ ซึ่งอยูในประเทศไทย

              รับเอาทรัพยสินที่ไดมาดวยการกระทําผิดฐานฉอโกงที่เกิดในประเทศญี่ปุน จําเลยที่ ๑ ก็มีความผิดฐาน
              รับของโจรตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๓๕๗
                         มาตรา ๙  เจาพนักงานของรัฐบาลไทยกระทําความผิดตามที่บัญญัติไวในมาตรา ๑๔๗

              ถึงมาตรา ๑๖๖ และมาตรา ๒๐๐ ถึงมาตรา ๒๐๕ นอกราชอาณาจักร จะตองรับโทษในราชอาณาจักร
                         กรณีตามมาตรา ๙

                         เจาพนักงานไทยเปนผูกระทําความผิดนอกราชอาณาจักรในความผิดมาตรา ๑๔๗-๑๖๖,
              ๒๐๐-๒๐๕ ตองรับโทษในราชอาณาจักร
                         หลักเกณฑการลงโทษกรณีมีคําพิพากษาของศาลตางประเทศ (มาตรา ๑๐, ๑๑)

                         มาตรา ๑๐  ผูใดกระทําการนอกราชอาณาจักรซึ่งเปนความผิดตามมาตราตาง ๆ
              ที่ระบุไวในมาตรา ๗ (๒) และ (๓) มาตรา ๘ และมาตรา ๙ หามมิใหลงโทษผูนั้นในราชอาณาจักร

              เพราะการกระทํานั้นอีก ถา
   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72