Page 64 - 08_กฎหมายอาญา_Neat
P. 64
๕๑
ประสงคตอผล หรือยอมจะเล็งเห็นไดวาผลนั้นจะเกิดขึ้นในราชอาณาจักรเพราะเรือที่รับชวงนํ้ามัน
จะตองนํานํ้ามันไปจําหนายใหแกเรือประมงที่ทําการประมงในทะเลอาณาเขตซึ่งอยูในเขต
ราชอาณาจักรไทย การกระทําของจําเลยจึงอยูในขั้นพยายาม ตองดวย ป.อ.มาตรา ๕ วรรคสอง
จําเลยจึงมีความผิดตามพระราชบัญญัติศุลกากร พ.ศ. ๒๔๖๙ มาตรา ๒๗
มาตรา ๗ ผูใดกระทําความผิดดังระบุไวตอไปนี้นอกราชอาณาจักร จะตองรับโทษใน
ราชอาณาจักร คือ
(๑) ความผิดเกี่ยวกับความมั่นคงแหงราชอาณาจักร ตามที่บัญญัติไวใน
มาตรา ๑๐๗ ถึงมาตรา ๑๒๙
(๑/๑) ความผิดเกี่ยวกับการกอการรายตามที่บัญญัติไวในมาตรา ๑๓๕/๑
มาตรา ๑๓๕/๒ มาตรา ๑๓๕/๓ และมาตรา ๑๓๕/๔
(๒) ความผิดเกี่ยวกับการปลอมและการแปลง ตามที่บัญญัติไว
ในมาตรา ๒๔๐ ถึงมาตรา ๒๔๙ มาตรา ๒๕๔ มาตรา ๒๕๖ มาตรา ๒๕๗ และมาตรา ๒๖๖ (๓) และ (๔)
(๒ ทวิ) ความผิดเกี่ยวกับเพศตามที่บัญญัติไวในมาตรา ๒๘๒ และ
มาตรา ๒๘๓
(๓) ความผิดฐานชิงทรัพย ตามที่บัญญัติไวในมาตรา ๓๓๙ และความผิด
ฐานปลนทรัพย ตามที่บัญญัติไวในมาตรา ๓๔๐ ซึ่งไดกระทําในทะเลหลวง
ความผิดเกิดนอกราชอาณาจักร (มาตรา ๗-๙) แตตองรับโทษในราชอาณาจักร
กรณีตามมาตรา ๗
ความผิดที่เกิดนอกราชอาณาจักรแตตองรับโทษในราชอาณาจักรตามที่ระบุไวในมาตรา ๗
ไดแก
(๑) ความผิดเกี่ยวกับความมั่นคงตามมาตรา ๑๐๗-๑๒๙
(๑/๑) ความผิดเกี่ยวกับการกอการรายตามที่บัญญัติไวในมาตรา ๑๓๕/๑ มาตรา ๑๓๕/๒
มาตรา ๑๓๕/๓ และมาตรา ๑๓๕/๔ (อนุมาตรานี้เพิ่มเติมป ๒๕๔๖)
(๒) ความผิดเกี่ยวกับการปลอมและการแปลงเงินตรา มาตรา ๒๔๐-๒๔๙, ๒๕๔, ๒๕๖,
๒๕๗ และ ๒๖๖ (๓) (๔) จําสั้น ๆ วาความผิดเกี่ยวกับการปลอมแปลงเงินตรา
(๒ ทวิ) ความผิดเกี่ยวกับเพศตามที่บัญญัติไวในมาตรา ๒๘๒ และมาตรา ๒๘๓
(อนุมาตรานี้เพิ่มเติมป ๒๕๔๖)
(๓) ความผิดเกี่ยวกับชิงทรัพย มาตรา ๓๓๙ และปลนทรัพย มาตรา ๓๔๐ ซึ่งกระทําใน
ทะเลหลวง
มาตรา ๘ ผูใดกระทําความผิดนอกราชอาณาจักร และ
(ก) ผูกระทําความผิดนั้นเปนคนไทย และรัฐบาลแหงประเทศที่ความผิดได
เกิดขึ้น หรือผูเสียหายไดรองขอใหลงโทษ หรือ