Page 60 - 08_กฎหมายอาญา_Neat
P. 60

๔๗




                                 ๒.๒  กรณีคดีถึงที่สุดแลว และผูกระทํารับโทษครบถวนจนกระทั่งพนโทษแลว
                                      กรณีเชนนี้ก็ไมอาจนํากฎหมายในสวนที่เปนคุณไปใชแกผูกระทําผิดได เพราะ

                 รับโทษครบถวนจนกระทั่งพนโทษแลว
                                 ๒.๓  กรณีคดีถึงที่สุดแลว และผูกระทํายังไมไดรับโทษหรือกําลังรับโทษอยู

                                      มาตรา ๓ อนุมาตรา ๑ และ ๒ แยกโทษออกเปน ๒ ประเภท คือ
                                      (๑)  โทษตามคําพิพากษาไมใชโทษประหารชีวิต

                                      (๒)  โทษตามคําพิพากษาเปนโทษประหารชีวิต



                            ๑.  โทษตามคําพิพากษาไมใชโทษประหารชีวิต ซึ่งแยกพิจารณาไดเปน ๒ กรณี คือ กรณี
                 ผูกระทําความผิดยังไมไดรับโทษและกรณีผูกระทําความผิดกําลังรับโทษอยู

                                 ก.  ผูกระทําความผิดยังไมไดรับโทษ ถาปรากฏวาโทษที่กําหนดตามคําพิพากษา
                 หนักกวาโทษที่กําหนดตามกฎหมายที่บัญญัติในภายหลัง ศาลตองกําหนดโทษเสียใหมตามกฎหมาย
                 ที่บัญญัติในภายหลัง

                                 ข.  ผูกระทําความผิดกําลังรับโทษอยู ถาโทษที่กําหนดตามคําพิพากษาหนักกวาโทษ
                 ที่กําหนดตามกฎหมายที่บัญญัติในภายหลัง ศาลก็ตองกําหนดโทษเสียใหมตามกฎหมายที่บัญญัติ

                 ในภายหลัง
                                 ฎีกาที่ ๗๗๗๙/๒๕๔๙  คดีถึงที่สุดตามคําพิพากษาศาลฎีกาแตจําเลยที่ ๑ กําลัง

                 รับโทษตามคําพิพากษาดังกลาวอยู เมื่อจําเลยที่ ๑ ยื่นคํารองอางวา มี พ.ร.บ.ยาเสพติดใหโทษ
                 (ฉบับที่ ๕) พ.ศ.๒๕๔๕ ยกเลิกความในมาตรา ๑๕ และมาตรา ๖๖ แหง พ.ร.บ.ยาเสพติดใหโทษ

                 พ.ศ.๒๕๒๒ และใหใชความใหมแทน อันเปนกฎหมายที่เปนคุณแกจําเลยที่ ๑ ดังนี้ จําเลยที่ ๑ ยอมมี
                 สิทธิที่จะรองขอตอศาลใหศาลชั้นตนกําหนดโทษเสียใหมใหแกจําเลยที่ ๑ ได ตาม ป.อ.มาตรา ๓ (๑)

                 ที่ศาลชั้นตนมีคําสั่งวา คดีถึงที่สุดตามคําพิพากษาศาลฎีกาแลว จึงไมอาจแกไขโทษตามคําพิพากษา
                 ไดนั้นเปนการไมถูกตอง เพราะอํานาจในการมีคําสั่งตามคํารองของจําเลยที่ ๑ ในกรณีเชนนี้เปนอํานาจ

                 ของศาลชั้นตน
                                 เมื่อจําเลยที่ ๑ อุทธรณคําสั่งศาลชั้นตน ศาลชั้นตนมีคําสั่งไมรับอุทธรณ จําเลยที่ ๑

                 ยื่นคํารองอุทธรณคําสั่งศาลชั้นตนที่ไมรับอุทธรณ ศาลชั้นตนชอบที่จะสงสํานวนดังกลาวไปยังศาลอุทธรณ
                 เพื่อพิจารณาตามลําดับชั้นศาล แตศาลชั้นตนกลับสงสํานวนมายังศาลฎีกาอันเปนการไมชอบดวย

                 ป.วิ.อ.มาตรา ๑๙๘ ทวิ แตเมื่อคดีไดขึ้นมาสูการพิจารณาของศาลฎีกาแลว ศาลฎีกายอมมีอํานาจ
                 สั่งยกคําสั่งของศาลชั้นตนไดโดยไมตองยอนสํานวนไปใหศาลอุทธรณมีคําสั่งใหม
                                 ในการกําหนดโทษใหมนี้ หากเห็นเปนการสมควร

                                 ก.  ศาลจะกําหนดโทษนอยกวาโทษขั้นตํ่าที่กฎหมายที่บัญญัติในภายหลังกําหนดไว

                 ถาหากมีก็ได
   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65