Page 57 - 08_กฎหมายอาญา_Neat
P. 57
๔๔
ฎีกาที่ ๑๔๐๓/๒๕๐๘ การยอมความในความผิดอันยอมความไดตามประมวลกฎหมาย
วิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๓๕ วรรคสอง และ ๓๙ (๒) นั้น เปนการกระทําภายหลังที่ความผิด
ไดเกิดขึ้นแลว มิใชการที่จะกระทําไวลวงหนากอนการกระทําความผิด ขอตกลงลวงหนากอนมีการ
กระทําความผิดจะถือเปนการยอมความตามบทกฎหมายดังกลาวไมได
บุคคลจะตกลงกันไวกอนวาจะไมฟองคดีอาญา ถาหากจะมีการกระทําความผิดเกิดขึ้น
ตอไปขางหนานั้น ขอตกลงนั้นหามีผลกอใหเกิดหนี้ที่จะผูกพันคูกรณีใหจําตองงดเวนไมฟองคดีอาญา
เชนวานั้นแตประการใดไม เพราะอํานาจฟองคดีอาญาจะมีอยูหรือไมนั้น มิไดอยูภายใตบังคับของกฎหมาย
ลักษณะหนี้ในทางแพงหากอยูภายในบังคับของกฎหมายวาดวยวิธีพิจารณาความอาญาอีกสวนหนึ่ง
ขอตกลงวาจะไมฟองคดีอาญานั้น อาจถือเปนความยินยอมใหกระทําการที่ตามปกติ
ตองดวยบทบัญญัติวาเปนความผิดไดมีหลักทั่วไปเปนเหตุยกเวนความผิดอาญาตามนัยฎีกาที่
๖๑๖/๒๔๘๒ และ ๗๘๗/๒๔๘๓ วา ความยินยอมอันบริสุทธิ์ของผูเสียหายใหผูใดกระทําการที่กฎหมาย
บัญญัติวาเปนความผิดนั้น ถาความยินยอมนั้นไมขัดตอความสํานึกในศีลธรรมอันดีและมีอยูจนถึงขณะ
กระทําการอันกฎหมายบัญญัติวาเปนความผิดนั้นแลว ความยินยอมนั้นเปนขอยกเวนมิใหการกระทํา
นั้นเปนความผิดขึ้นได
ขอตกลงระหวางโจทกจําเลย แมไมผูกพันโจทกใหยินยอมอยูเชนนั้นตลอดไป แตโจทก
ก็ไดยินยอมใหจําเลยออกเช็คโดยจะไมฟองเปนความผิดอาญา เปนความยินยอมที่มีอยูจนถึงขณะที่
จําเลยออกเช็ค โดยรูวาไมมีเงินในธนาคาร อันเปนการกระทําโดยเจตนาที่เปนองคความผิดประการหนึ่ง
ซึ่งจําเลยไดกระทําลงตามความยินยอมของโจทก ความผิดกรณีนี้เปนความผิดอันยอมความได
ถือไดวาความยินยอมของผูเสียหายในการกระทําฐานนี้ไมขัดตอความสํานึกในศีลธรรม การกระทําที่
โจทกฟองจึงไมเปนความผิดในทางอาญา (ประชุมใหญครั้งที่ ๑๗/๒๕๐๘)
๒. การใชกฎหมายอาญายอนหลังเพื่อเปนคุณแกผูกระทําความผิด ตามมาตรา ๓
การใชกฎหมายอาญายอนหลังเพื่อเปนโทษแกผูกระทําความผิดนั้นทําไมได
เพราะขัดกับบทบัญญัติในมาตรา ๒ วรรคแรก ที่ไดกลาวมาแลว แตหากยอนหลังเพื่อเปนคุณแกผูกระทํา
ความผิดแลวสามารถทําได ทั้งนี้ตามที่บัญญัติไวในมาตรา ๒ วรรคสองและมาตรา ๓
ÁÒμÃÒ ò ÇÃäÊͧ บัญญัติวา “ถาตามบทบัญญัติของกฎหมายที่บัญญัติ
ในภายหลัง การกระทําเชนนั้นไมเปนความผิดตอไป ใหผูที่ไดกระทําการนั้นพนจากการเปนผูกระทํา
ความผิด และถาไดมีคําพิพากษาถึงที่สุดใหลงโทษแลว ก็ใหถือวาผูนั้นไมเคยตองคําพิพากษาวา
ไดกระทําความผิดนั้น ถารับโทษอยูก็ใหการลงโทษนั้นสิ้นสุดลง”
ÁÒμÃÒ ó บัญญัติวา “ถากฎหมายที่ใชในขณะกระทําความผิดแตกตางกับกฎหมาย
ที่ใชในภายหลังการกระทําความผิด ใหใชกฎหมายในสวนที่เปนคุณแกผูกระทําความผิด ไมวาในทางใด
เวนแตคดีถึงที่สุดแลว แตในกรณีที่คดีถึงที่สุดแลวดังตอไปนี้
(๑) ถาผูกระทําความผิดยังไมไดรับโทษ หรือกําลังรับโทษอยูและโทษที่กําหนด
ตามคําพิพากษาหนักกวาโทษที่กําหนดตามกฎหมายที่บัญญัติในภายหลังเมื่อสํานวนความปรากฏ