Page 56 - 08_กฎหมายอาญา_Neat
P. 56

๔๓




                 แมเจาหนาที่ของรัฐนั้นไมไดแสดงสินทรัพยและหนี้สินตามพระราชกฤษฎีกาวาดวยการแสดงสินทรัพย
                 และหนี้สินของเจาหนาที่ของรัฐ พ.ศ.๒๕๒๔ ก็ตาม

                                     ๒.๒  หากในขณะกระทํามีกฎหมายบัญญัติเปนความผิดและกําหนดโทษไว
                 ตอมาจะมีการออกกฎหมายยอนหลังเพิ่มโทษการกระทําดังกลาวใหหนักขึ้นมิได

                                 ๓.  ถอยคําในกฎหมายอาญาจะตองบัญญัติใหชัดเจนแนนอนปราศจากความคลุมเครือ
                                     มาตรา ๒ ใชคําวา “บัญญัติเปนความผิด” การที่จะใหคนรูลวงหนาวาการกระทํา

                 อยางไร หรือการไมกระทําอยางใดเปนความผิดนั้น” บทบัญญัตินั้น ๆ ตองชัดเจน แนนอน ปราศจาก
                 ความคลุมเครือ เชน มาตรา ๒๘๘ ใชคําวา “ผูใดฆาผูอื่น” ซึ่งเปนบทบัญญัติที่มีความชัดเจน

                                 ๔.  กฎหมายอาญาตองตีความโดยเครงครัด
                                     หมายความวา เมื่อมีกฎหมายบัญญัติวาการกระทําหรือไมกระทําอยางใด

                 เปนความผิดทางอาญาแลว ก็ถือวาเฉพาะกรณีนั้น ๆ เทานั้นที่เปนความผิด จะไปรวมถึงกรณีอื่น ๆ
                 ดวยไมได
                                 ËÅÑ¡¡ÒÃμÕ¤ÇÒÁâ´Âà¤Ã‹§¤ÃÑ´¹Ñé¹ หมายความวา

                                 ๔.๑  จะอาศัยเทียบบทกฎหมายที่ใกลเคียงอยางยิ่ง จะใชเปนผลรายมิได
                                      μÑÇÍ‹ҧ

                                      (๑)  นายแดงใชปนยิงตนเองใหตาย แตไมตาย เชนนี้จะถือวานายแดงมีความผิด
                 พยายามฆาตัวเอง โดยนํามาตรา ๒๘๘ ประกอบมาตรา ๘๐ มาเทียบเคียงลงโทษนายแดงมิได

                                      (๒)  นายเอกวางเพลิงเผาบานที่เปนกรรมสิทธิ์รวมของนายเอกและนายโท
                 นายเอกไมมีความผิดตามมาตรา ๒๑๘ (๑) เพราะความผิดตามมาตรา ๒๑๘ (๑) ตองเปนการวางเพลิง

                 เผา “ทรัพยของผูอื่น” ตามมาตรา ๒๑๗ การวางเพลิงเผาทรัพยซึ่งตนเองและผูอื่นเปนเจาของรวมอยูดวย
                 ไมมีความผิดตามมาตรา ๒๑๗ หากลงโทษนายเอกตามมาตรา ๒๑๘ (๑) ถือวาเปนการอาศัยเทียบบท

                 กฎหมายใกลเคียงอยางยิ่งมาใชเปนผลรายแกนายเอกจึงตองหามตามมาตรา ๒
                                 ๔.๒  จะนํา “¨ÒÃÕμ»ÃÐླՔ มาใชใหเปนผลรายมิได

                                      แตถานําจารีตประเพณีมาใชเพื่อเปนคุณยอมทําได เชน จารีตประเพณียอมให
                 ครูตีเด็กไดตามสมควรเพื่อวากลาวสั่งสอน ดังนั้นการที่ครูตีเด็กเพื่ออบรมสั่งสอนยอมไมเปนความผิด

                                 ๔.๓  จะนํา “ËÅÑ¡¡®ËÁÒ·ÑèÇä»” มาใชใหเปนผลรายมิได
                                      แตจะนํามาใชเพื่อเปนคุณยอมทําได เชน หลักในเรื่องความยินยอมซึ่งถือวาเปน

                 “หลักกฎหมายทั่วไป” สามารถนํามาใชเพื่อยกเวนความผิดไดในบางกรณี การนํามาใชเพื่อยกเวน
                 ความผิดใหแกผูกระทํา ถือวาเปนการนํามาใชเพื่อเปน “คุณ” เพราะทําใหผูกระทําไมตองรับผิด
                 ในทางอาญา
   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61