Page 104 - 09_กฎหมายอนทเกยวของกบการปฏบตหนาท_Neat
P. 104

๙๗


                                                       º··Õè ô



                          ¡®ËÁÒÂàÅ×Í¡μÑé§à¡ÕèÂǡѺอํา¹Ò¨Ë¹ŒÒ·Õè¢Í§¢ŒÒÃÒª¡ÒÃตําÃǨ



                             หลักการของระบอบประชาธิปไตยถือวาประชาชนทุกคนมีความเทาเทียมกัน เสมอภาคกัน
                 และเพื่อที่จะอยูรวมกันไดอยางปกติสุข จึงไดเกิดหลักการตาง ๆ เพื่อนําเอาอํานาจของประชาชน

                 ทุกคนนั้นมารวมกันและมี “รัฐธรรมนูญ” เปนกฎหมายสูงสุดของประเทศ อํานาจของประชาชน
                 ที่ไปรวมกันและเรียกวารัฐธรรมนูญหรือกฎหมายสูงสุดนั้น ไดถูกแบงออกเปนสามอํานาจตามแนว
                 ความคิดของ John Lock และ Montesquieu คือ อํานาจนิติบัญญัติ อํานาจบริหาร และอํานาจตุลาการ

                             ในสมัยกอนนั้น อํานาจในการปกครองอยูที่ผูนําเพียงผูเดียว หากผูนํามีคุณธรรมประชาชน
                 ก็อยูดีมีสุข หากผูใชอํานาจกดขี่เอาเปรียบประชาชนก็เดือดรอน ตอมาในยุคกลางของยุโรปประชาชน
                 ถูกกดขี่จากผูใชอํานาจปกครอง ซึ่งในสมัยนั้นการใชอํานาจปกครองเปนไปตามอําเภอใจของผูมีอํานาจ

                 เพราะอํานาจปกครองอยูที่ผูปกครอง ประชาชนไมมีสวนรวมในการปกครอง และการใชอํานาจปกครอง
                 ก็ตรวจสอบไมได ดังนั้น ผลพวงของการปกครองในยุคนั้นทําใหประชาชนเดือดรอนไมไดรับความเปนธรรม
                 และถูกกดขี่จากผูปกครอง

                             จากปญหาที่ประชาชนถูกกดขี่จากการใชอํานาจของผูปกครองนี้ทําใหเกิดหลักการแบงแยก
                 อํานาจปกครองเปนสามอํานาจตามแนวความคิดของ John Lock และ Montesquieu ในชวง
                 คริสตศตวรรษที่ ๑๗ - ๑๘ คือ อํานาจนิติบัญญัติ อํานาจบริหาร และอํานาจตุลาการ จุดประสงคของ

                 การแบงแยกอํานาจเพื่อใหเกิดการถวงดุลและตรวจสอบระหวางอํานาจทั้งสาม ทั้งนี้เพื่อรักษาสิทธิ
                 เสรีภาพและประโยชนของประชาชนจากการใชอํานาจปกครอง
                             ทฤษฎีการแบงอํานาจอธิปไตยออกเปนสามสวนคือ อํานาจนิติบัญญัติ อํานาจบริหาร

                 และอํานาจตุลาการ มีความเชื่อมโยงกับปรัชญาการเลือกตั้ง กลาวคือ การเลือกตั้งจะเปนที่มาของกลไก
                 ผูใชอํานาจอธิปไตยในประเทศประชาธิปไตย ในความหมายนี้ การเลือกตั้งจึงมีความสําคัญในฐานะ
                 ที่เปนการยอมรับในอํานาจของประชาชนในการเปนเจาของอํานาจอธิปไตย ในสังคมสมัยใหมประชาชน

                 ทุกคนไมอาจสามารถเขาไปมีสวนในการปกครองตนเองไดทั้งหมด ทั้งยังเปนการยากลําบากในทาง
                 ปฏิบัติที่จะสรางกลไกรองรับการแสดงสวนรวมทางการเมืองโดยตรงของประชาชนทั้งหมดในสังคมได
                 จึงไดเกิดรูปแบบของประชาธิปไตยอีกประเภทหนึ่ง คือ ประชาธิปไตยโดยการใชอํานาจทางออมของ

                 ประชาชนผานผูแทน (Representative Democracy) เพื่อใชอํานาจทางการบริหารปกครองไมวา
                 จะผานระบบรัฐสภาหรือไมก็ตาม ในบรรดากระบวนการเพื่อใหไดมาซึ่งตัวแทนในการใชอํานาจทางการเมือง
                 แทนประชาชน เปนที่ยอมรับวาการเลือกตั้ง (election) เปนรูปแบบพื้นฐานที่เหมาะสมที่สุด

                 ภายใตรูปแบบอันหลากหลายของการใหไดมาซึ่งผูแทนของประชาชน การเลือกตั้งถือไดวาเปนกิจกรรม

                 ที่สะทอนแสดงออกซึ่งเจตจํานง และการมีสวนรวมทางการเมืองของประชาชน การเลือกตั้งจึงเปน
                 การเปดโอกาสใหประชาชนผูลงคะแนนเสียงไดมีสวนรวมทางการเมืองในการเปนผูใชอํานาจอธิปไตย

                 ดวยการเลือกตัวแทนเขาไปทําหนาที่ในทางนิติบัญญัติ และมีความสัมพันธกับอํานาจทางฝายบริหาร
   99   100   101   102   103   104   105   106   107   108   109