Page 99 - 09_กฎหมายอนทเกยวของกบการปฏบตหนาท_Neat
P. 99

๙๒



              ¡ÒÃàÃÕ¡¤‹ÒÊÔ¹äËÁ·´á·¹¡Ã³Õ˹‹Ç§ҹ¢Í§ÃѰàÊÕÂËÒ¨ҡ¡ÒáÃÐทําÅÐàÁÔ´¢Í§
              ਌Ò˹ŒÒ·Õè

                          ในการปฏิบัติหนาที่ของเจาหนาที่อาจกระทําละเมิดตอหนวยงานของรัฐใหไดรับ
              ความเสียหายโดยอาจเปนกรณีเจาหนาที่ของรัฐคนหนึ่งทําละเมิดตอหนวยงานของรัฐแหงเดียว

              หรือหลายแหงก็ไดและอาจเปนหนวยงานของรัฐที่ตนเองสังกัดอยูหรือหนวยงานแหงรัฐอื่นก็ไดหรืออาจเปน
              เจาหนาที่ของรัฐหลายหนวยงานทําละเมิดตอหนวยงานของรัฐหนึ่งหรือหลายแหงก็ได
                          โดยเมื่อมีการกระทําละเมิดเกิดขึ้นเจาหนาที่ยอมตองรับผิดตอหนวยงานของรัฐที่เสียหาย

              ซึ่งมาตรา ๑๐ แหงพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ.๒๕๓๙ ไดกําหนด
              หลักเกณฑในการเรียกรองคาสินไหมทดแทนจากเจาหนาที่อันเนื่องจากการกระทําละเมิดไว ๒ กรณี
                          ¡Ã³Õáá การกระทําละเมิดตอหนวยงานของรัฐจากการปฏิบัติหนาที่ใหนําบทบัญญัติ

              มาตรา ๘ แหงพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ.๒๕๓๙ มาใชบังคับ
              โดยอนุโลม
                          ¡Ã³Õ·ÕèÊͧ  การกระทําละเมิดตอหนวยงานของรัฐที่มิใชจากการปฏิบัติหนาที่ใหบังคับ

              ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
                          ËÅѡࡳ±¡ÒÃàÃÕ¡¤‹ÒÊÔ¹äËÁ·´á·¹¡Ã³Õ¡ÒáÃÐทําÅÐàÁÔ´¨Ò¡¡Òû¯ÔºÑμÔ˹ŒÒ·Õè
                          ใชหลักเกณฑเดียวกันกับการใชสิทธิไลเบี้ยของหนวยงานของรัฐที่ไดชดใชคาสินไหมทดแทน

              ใหกับบุคคลภายนอก ดังตอไปนี้
                          (๑)  หนวยงานของรัฐที่ไดรับความเสียหายมีอํานาจออกคําสั่งเรียกใหเจาหนาที่ผูทํา
              ละเมิดรับผิดในความเสียหายของการกระทําละเมิดได (มาตรา ๑๒) เมื่อเปนการกระทําโดยจงใจ

              หรือประมาทเลินเลออยางรายแรง ดังนั้น กรณีที่เจาหนาที่กระทําละเมิดโดยความประมาทเลินเลอธรรมดา
              หนวยงานของรัฐที่ไดรับความเสียหายยอมไมอาจเรียกใหเจาหนาที่รับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนไดเลย
              หากหนวยงานของรัฐออกคําสั่งเชนวานี้ยอมมีผลทําใหเปนคําสั่งที่ไมชอบดวยกฎหมาย

                          (๒)  หนวยงานของรัฐจะตองคํานึงถึงระดับความรายแรงแหงการกระทําและความเปนธรรม
              ในแตละกรณีเปนเกณฑโดยไมตองใหใชเต็มจํานวนความเสียหายก็ได
                          (๓) หากความเสียหายเกิดจากความผิดหรือความบกพรองของหนวยงานของรัฐหรือระบบ

              การดําเนินการสวนรวมแลวตองหักสวนความรับผิดดังกลาวออกดวย
                          (๔) หากการทําละเมิดเกิดจากเจาหนาที่หลายคนรวมกันกระทํา หนวยงานของรัฐมีสิทธิ
              เรียกใหเจาหนาที่แตละคนรับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนเฉพาะสวนที่เจาหนาที่แตละคนไดกระทําเทานั้น

              ไมอาจเรียกใหเจาหนาที่รวมกันรับผิดในฐานะเปนลูกหนี้รวมได
                          คําÇÔ¹Ô¨©ÑªÕé¢Ò´ÍíÒ¹Ò¨ÃÐËNjҧÈÒÅ·Õè ñð/òõó÷ ขณะเกิดเหตุโจทก (สํานักงานตํารวจแหงชาติ)
              เปนหนวยงานของรัฐ จําเลยที่ ๑ รับราชการในสังกัดของโจทกไดรับมอบหมายใหปฏิบัติหนาที่ในตําแหนง

              ผูชวยเจาหนาที่การเงินไดอาศัยโอกาสในการปฏิบัติหนาที่เปรียบเทียบปรับจราจรทางบก เงินประกันตัว
              ผูตองหา ฯลฯ และไดเบียดบังยักยอกเอาเงินดังกลาวที่ตนเองมีหนาที่ดูแลจัดการไปโดยทุจริตเปนเหตุ
              ใหโจทกไดรับความเสียหายเปนคดีละเมิดอันเกิดจากการใชอํานาจหนาที่ตามกฎหมายตามมาตรา ๙
   94   95   96   97   98   99   100   101   102   103   104