Page 20 - 09_กฎหมายอนทเกยวของกบการปฏบตหนาท_Neat
P. 20

๑๓



                 ¡Åä¡¡Òä،Á¤ÃͧÊÔ·¸ÔáÅÐàÊÃÕÀÒ¾μÒÁÃѰ¸ÃÃÁ¹ÙÞ

                             เมื่อรัฐไดรับรองสิทธิเสรีภาพดวยการบัญญัติไวในรัฐธรรมนูญยอมทําใหกฎหมายหรือ

                 องคกรทั้งที่เกิดขึ้นจากรัฐธรรมนูญจะลวงละเมิดบทบัญญัติที่รับรองสิทธิเสรีภาพนั้นไมไดเพราะสิทธิ
                 เสรีภาพตามที่ไดรับรองในรัฐธรรมนูญมีสถานะเปนสวนหนึ่งของรัฐธรรมนูญซึ่งเปนกฎหมายสูงสุด
                 ซึ่งองคกรใดๆ ของรัฐไมวาจะเปนองคกรนิติบัญญัติ องคกรบริหาร รวมทั้งองคกรตุลาการจะตองให
                 ความเคารพและใหความคุมครองโดยการใชอํานาจขององคกรเหลานั้นจะตองผูกพันอยูภายใตหลัก

                 ความชอบดวยรัฐธรรมนูญ และในกรณีที่องคกรเหลานั้นใชอํานาจหนาที่ของตนละเมิดสิทธิเสรีภาพ
                 ของบุคคลตามที่รัฐธรรมนูญไดบัญญัติรับรองไว การกระทําดังกลาวยอมถูกตรวจสอบไดโดยองคกร

                 ตุลาการ ดังนั้นจึงเห็นไดวาการคุมครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนเปนเรื่องที่สําคัญเพราะหากไมมี
                 ระบบคุมครองสิทธิเสรีภาพของประชาชน สิทธิเสรีภาพของประชาชนที่รับรองไวในรัฐธรรมนูญ
                 ยอมถูกละเมิดโดยงายซึ่งยอมเทากับประชาชนไมมีสิทธิเสรีภาพที่แทจริง
                             รัฐธรรมนูญไดบัญญัติหลักการคุมครองสิทธิเสรีภาพโดยศาลไวในมาตรา ๒๕ โดยใหบุคคล

                 ซึ่งถูกละเมิดสิทธิเสรีภาพที่รัฐธรรมนูญรับรองไวสามารถยกบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญนี้เพื่อใชสิทธิทาง
                 ศาลหรือยกขึ้นเปนขอตอสูในศาลได

                             ÁÒμÃÒ òñò  ในการที่ศาลจะใชบทบัญญัติแหงกฎหมายบังคับแกคดีใด ถาศาล
                 เห็นเองหรือคูความโตแยงพรอมดวยเหตุผลวาบทบัญญัติแหงกฎหมายนั้นตองดวยมาตรา ๕ และ
                 ยังไมมีวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญในสวนที่เกี่ยวกับบทบัญญัตินั้น ใหศาลสงความเห็นเชนวานั้นตอ
                 ศาลรัฐธรรมนูญเพื่อวินิจฉัย ในระหวางนั้น ใหศาลดําเนินการพิจารณาตอไปไดแตใหรอการพิพากษาคดี

                 ไวชั่วคราวจนกวาจะมีคําวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ
                             ในกรณีที่ศาลรัฐธรรมนูญเห็นวาคําโตแยงของคูความตามวรรคหนึ่ง ไมเปนสาระอันควร

                 ไดรับการวินิจฉัย ศาลรัฐธรรมนูญจะไมรับเรื่องดังกลาวไวพิจารณาก็ได
                             คําวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญใหใชไดในคดีทั้งปวง แตไมกระทบตอคําพิพากษาของศาล
                 อันถึงที่สุดแลว เวนแตในคดีอาญาใหถือวาผูซึ่งเคยถูกศาลพิพากษาวากระทําความผิดตามบทบัญญัติ
                 แหงกฎหมายที่ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยวาไมชอบดวยมาตรา ๕ นั้น เปนผูไมเคยกระทําความผิด

                 ดังกลาวหรือถาผูนั้นยังรับโทษอยูก็ใหปลอยตัวไป แตทั้งนี้ไมกอใหเกิดสิทธิที่จะเรียกรองคาชดเชย
                 หรือคาเสียหายใด ๆ

                             ÁÒμÃÒ òñó  บุคคลซึ่งถูกละเมิดสิทธิหรือเสรีภาพที่รัฐธรรมนูญคุมครองไวมีสิทธิยื่นคํารอง
                 ตอศาลรัฐธรรมนูญเพื่อมีคําวินิจฉัยวา การกระทํานั้นขัดหรือแยงตอรัฐธรรมนูญ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ
                 วิธีการ และเงื่อนไขที่บัญญัติไวในพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยวิธีพิจารณาของ

                 ศาลรัฐธรรมนูญ
                             ñ. ÈÒÅÃѰ¸ÃÃÁ¹ÙÞ การคุมครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนโดยศาลรัฐธรรมนูญสามารถ
                 ดําเนินการโดยผานการตรวจสอบรางกฎหมายกอนการประกาศใชบังคับ ซึ่งสามารถควบคุมไดทั้งในแง

                 “เนื้อหา” และ “วิธีการ” ในการตรากฎหมายนั้นวามีกรณีใดที่ขัดหรือแยงตอรัฐธรรมนูญหรือไม
                 คําวา “กฎหมาย” นั้นหมายถึงทั้ง พระราชบัญญัติ พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ พระราชกําหนด
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25