Page 21 - 09_กฎหมายอนทเกยวของกบการปฏบตหนาท_Neat
P. 21

๑๔




              และนอกจากนั้นในกรณีที่ศาลยุติธรรมหรือศาลปกครองจะใชบทบัญญัติแหงกฎหมายและศาลเห็นเอง
              หรือคูกรณีโตแยงวาบทบัญญัติของกฎหมายนั้นขัดหรือแยงตอรัฐธรรมนูญและยังไมมีคําวินิจฉัยของ

              ศาลรัฐธรรมนูญเกี่ยวกับบทบัญญัตินั้นและยังไมมีคําวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญในสวนที่เกี่ยวกับ
              บทบัญญัติดังกลาวใหศาลรอการพิจารณาและสงความเห็นนั้นตามทางการเพื่อศาลรัฐธรรมนูญจะได
              พิจารณาวินิจฉัย
                          ÁÒμÃÒ òñð  ศาลรัฐธรรมนูญมีหนาที่และอํานาจ ดังตอไปนี้

                          (๑)  พิจารณาวินิจฉัยความชอบดวยรัฐธรรมนูญของกฎหมายหรือรางกฎหมาย
                          (๒) พิจารณาวินิจฉัยปญหาเกี่ยวกับหนาที่และอํานาจของสภาผูแทนราษฎร วุฒิสภา

              รัฐสภา คณะรัฐมนตรี หรือองคกรอิสระ
                          (๓) หนาที่และอํานาจอื่นตามที่บัญญัติไวในรัฐธรรมนูญ
                          การยื่นคํารองและเงื่อนไขการยื่นคํารอง การพิจารณาวินิจฉัย การทําคําวินิจฉัย และ
              การดําเนินงานของศาลรัฐธรรมนูญ  นอกจากที่บัญญัติไวในรัฐธรรมนูญแลว  ใหเปนไปตาม

              พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยวิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญ
                          ใหนําความในมาตรา ๑๘๘ มาตรา ๑๙๐ มาตรา ๑๙๑ และมาตรา ๑๙๓ มาใชบังคับแก

              ศาลรัฐธรรมนูญดวยโดยอนุโลม
                          การควบคุม กฎหมายมิใหขัดหรือแยงตอรัฐธรรมนูญมีขึ้นเพื่อวัตถุประสงค ดังตอไปนี้
                          ñ. à¾×èÍ»ÃÐ⪹¢Í§»ÃЪҪ¹ä·ÂʋǹÃÇÁ
                             โดยมิใหมีการบัญญัติกฎหมายที่กระทบกระเทือนตอสิทธิเสรีภาพของประชาชน

              ที่รัฐธรรมนูญไดบัญญัติรับรองไว
                          ò. à¾×èÍ»ÃÐ⪹ã¹¡Òû¡¤Ãͧ»ÃÐà·È

                             ดวยการรักษาดุลยภาพการปฏิบัติหนาที่ของแตละองคกรตามที่ปรากฏในรัฐธรรมนูญ
              อันเปนกระบวนการถวงดุลอํานาจ ระหวางองคกรตางๆ ตามบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญในระบอบ
              ประชาธิปไตย
                          ó. à¾×èͤ،Á¤Ãͧ»¡»‡Í§ÃѰ¸ÃÃÁ¹ÙÞãËŒดําçÃÑ¡ÉÒ¤ÇÒÁ໚¹¡®ËÁÒÂÊÙ§ÊØ´àÍÒäÇŒ

                             เมื่อบทบัญญัติกฎหมายใดมีขอความหรือเจตนารมณขัดหรือแยงตอรัฐธรรมนูญ
              ก็จะตองมีการควบคุม โดยวินิจฉัยใหกฎหมายนั้นไมมีผลใชบังคับ

                          ò. ÈÒÅ»¡¤Ãͧ มีอํานาจหนาที่ในการพิจารณาการกระทําตางๆ ของฝายปกครอง
              ที่มีผลกระทบตอสิทธิเสรีภาพของประชาชน อยางไรก็ตามมีขอสังเกตคือ การคุมครองสิทธิเสรีภาพ
              ของประชาชนโดยศาลนั้นจะทําไดเฉพาะเมื่อเกิดขอพิพาทเทานั้น และตองเปนคดีที่อยูในเขตอํานาจ

              ของศาลเทานั้น
                          ÁÒμÃÒ ñù÷  ศาลปกครองมีอํานาจพิจารณาพิพากษาคดีปกครองอันเนื่องมาจากการใช
              อํานาจทางปกครองตามกฎหมายหรือเนื่องมาจากการดําเนินกิจการทางปกครอง  ทั้งนี้ ตามที่กฎหมาย

              บัญญัติ
                          ใหมีศาลปกครองสูงสุดและศาลปกครองชั้นตน
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26