Page 33 - เล่มแผนยุทธ์ศาสตร์และแผนธุรกิจ สระบุรี. ปีบัญชี 2562
P. 33

33
                          ส ำนักงำน ธ.ก.ส. จังหวัดสระบุรี

                         SARABURI  Provincial  Office

                       2) ครัวเรือนเกษตรส่วนใหญ่ถือครองที่ดินจ านวนไม่มากและขนาดของที่ดินถือครองมีแนวโน้มลดลงอย่าง

                ต่อเนื่อง นโยบายควรเร่งเพิ่มผลิตภาพและรายได้ ส่งเสริมให้เกษตรกรรายย่อยสามารถเข้าถึงและใช้เทคโนโลยี

                และนวัตกรรม ผลิตสินค้าเกษตรที่มีมูลค่าสูง การรวมกลุ่มที่เข้มแข็งเพื่อเพิ่มอ านาจการต่อรองและการเกิด
                Economy of Scale


                       3) ครัวเรือนเกษตรจ านวนมากไม่มีหรือมีกรรมสิทธิ์ถือครองในที่ดินเพียงบางส่วน นโยบายจึงควรเร่ง

                ส่งเสริมให้เกษตรกรมีกรรมสิทธิ์ถือครองในที่ดินอย่างสมบูรณ์เพิ่มขึ้น จะท าให้เกษตรกรมีแรงจูงใจในการลงทุน
                เพื่อยกระดับประสิทธิภาพการผลิตได้



                       4) ครัวเรือนเกษตรส่วนใหญ่ยังไม่สามารถเข้าถึงระบบการชลประทานและแหล่งน้ าได้ และมีความ
                แตกต่างเชิงพื้นที่สูง ดังนั้น จึงควรมีการลงทุนขยายพื้นที่ชลประทานและการสร้างแหล่งน้ าให้ทั่วถึงหรือเพิ่ม

                ประสิทธิภาพการจัดส่งน้ า เพื่อบรรเทาปัญหาขาดแคลนน ้า เพิ่มประสิทธิภาพของการใช้ที่ดิน และเพิ่ม
                ผลตอบแทนจากการลงทุนด้านเทคโนโลยี


                       5) ความเสี่ยงที่เพิ่มขึ้นจากการมุ่งสู่การผลิตแบบเกษตรเชิงเดี่ยว การด าเนินนโยบายเกษตรแปลงใหญ่

                ในปัจจุบัน ควรมีมาตรการเสริมเพื่อให้ความรู้เรื่องการบริหารจัดการความเสี่ยงและเร่งพัฒนาระบบบริหารจัดการ

                ความเสี่ยงให้ทั่วถึง


                       6) การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างการผลิตโดยการใช้เครื่องจักรกลทดแทนแรงงาน การเร่งทดแทนแรงงาน
                ด้วยเครื่องจักรกลสมัยใหม่และเทคโนโลยีโดยเฉพาะพื้นที่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคเหนือจะช่วยเพิ่ม

                ผลิตภาพในการผลิตได้ ซึ่งสามารถท าได้โดยการอบรมและให้ความรู้ ให้สินเชื่อพร้อมส่งเสริมการรวมกลุ่ม
                ตลอดจนใช้ประโยชน์จาก economy of scale ในการส่งเสริมให้มีตลาดเช่าอย่างทั่วถึงทั่วประเทศ เพื่อเป็นกลไก

                ในการส่งผ่านเครื่องจักรสมัยใหม่และเทคโนโลยีไปสู่เกษตรกรรายย่อย



                       7) ผลิตภาพในการผลิตที่ยังอยู่ในระดับต่ า นโยบายจึงควรมุ่งเพิ่มผลิตภาพด้วยการส่งเสริมการเข้าถึงและ

                การใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรม โดยเฉพาะกับเกษตรกรรายย่อย


                ภำวะหนี้สินครัวเรือน

                                                            สัดส่วนหนี้ครัวเรือนต่อ GDP มีแนวโน้มลดลง อาจเกิดจาก
                                                    GDP เติบโตดี แต่แท้จริงแล้วหนี้ครัวเรือนต่อรายได้ครัวเรือนอาจไม่
                                                    ลดลงก็เป็นได้ เมื่อเทียบปี 2560 กับปี 2558 พบว่า จ านวนครัวเรือน

                                                    ที่มีหนี้เพิ่มขึ้นเป็น 51% หนี้สินของภาคครัวเรือนเพิ่มขึ้น 13%
                                                    สัดส่วน หนี้สินต่อรายได้ เพิ่มขึ้นจาก 5.8 เท่า เป็น 6.6 เท่า







                                                                                                                 33
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38