Page 28 - เล่มแผนยุทธ์ศาสตร์และแผนธุรกิจ สระบุรี. ปีบัญชี 2562
P. 28
28
ส ำนักงำน ธ.ก.ส. จังหวัดสระบุรี
SARABURI Provincial Office
เพิ่มขึ้น สังคมแห่งโอกาสและไม่แบ่งแยก ภาครัฐมีข้อมูลและสารสนเทศด้านสังคมที่บูรณาการ และให้ชุมชน
ท้องถิ่นมีความเข้มแข็งสามารถบริหารจัดการชุมชนได้ด้วยตนเอง มีความส าคัญและเกี่ยวเนื่องกับยุทธศาสตร์ของ
ธนาคาร ในยุทธศาสตร์ที่ 5 ซึ่งมุ่งเน้นการเสริมสร้างและพัฒนาองค์กรสีเขียว และ สนับสนุนการพัฒนาชุมชน
ร่วมกับเครือข่ายในด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม
1.3 แผนยุทธศำสตร์รัฐวิสำหกิจสำขำสถำบันกำรเงิน
มุ่งเน้นเป็นสถาบันการเงินเพื่อการพัฒนาในการสร้างโอกาสให้ประชาชนเข้าถึงแหล่งเงินทุนอย่าง
ทั่วถึง ควบคู่กับการให้ความรู้ทางการเงิน เพื่อสนับสนุนความเข้มแข็งเศรษฐกิจฐานราก พัฒนาขีดความสามารถ
ในการแข่งขันของประเทศ และลดความเหลื่อมล้ าในสังคม ภายใต้การบริหารจัดการองค์กรที่มั่นคง โปร่งใส และ
ยั่งยืน โดยการน าเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ในการบริหารจัดการและให้บริการทางการเงิน และยังให้ความส าคัญ
กับการพัฒนาผลิตภัณฑ์ทางการเงินรูปแบบใหม่ที่หลากหลาย ตอบสนองความต้องการของลูกค้าแต่ละกลุ่ม
มุ่งเน้นให้รัฐวิสาหกิจบริหารและวิเคราะห์ข้อมูลกลุ่มเกษตรกรในภาพรวม เตรียมความพร้อมใน
ด้านการจัดท าแผนงาน/โครงการที่สอดคล้องกับโครงการวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data Analysis) อีกทั้ง
พัฒนาระบบการบริหารภายในองค์กร โดยใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ พัฒนาความรู้ความสามารถบุคลากรรองรับ
บริบททางการเงินที่เปลี่ยนแปลง
มุ่งเน้นการบริการด้านผลิตภัณฑ์/ระบบและช่องทางการให้บริการทางการเงินเพื่อตอบสนอง
กระแส Financial Technology การบูรณาการฐานข้อมูลร่วมกัน เพื่อให้การบริหารจัดการเป็นไปโดยองค์รวม
อย่างมีประสิทธิภาพ การบริหารจัดการข้อมูล Big Data และการเตรียมความพร้อมของบุคลากร
มุ่งเน้นปฏิบัติงานตามเกณฑ์การก ากับดูแลของ ธปท. บริหารจัดการระดับคุณภาพทรัพย์สินให้
อยู่ในระดับที่เหมาะสมกับบริบทขององค์กร ทั้งในส่วนของภาพรวมองค์กร การด าเนินการตามพันธกิจ และการ
ด าเนินการตามนโยบายรัฐ รวมทั้งแก้ไขปัญหาคุณภาพทรัพย์สินเดิมและวางแผนป้องกัน
1.4 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
โดยมุ่งเน้น “เกษตรกรมั่นคง ภาคการเกษตรมั่งคั่ง ทรัพยากรการเกษตรยั่งยืน” ผ่านการขับเคลื่อนด้วย 5
ยุทธศาสตร์ของธนาคาร ยุทธศาสตร์ของฝ่ายกิจการสาขาภาคกลาง และยุทธศาสตร์ของส านักงาน ธ.ก.ส. จังหวัด
สระบุรี ประกอบด้วย
ยุทธศำสตร์ที่ 1 สร้ำงควำมเข้มแข็งให้กับเกษตรกรและสถำบันเกษตรกร โดยการสร้างความเข้มแข็ง
ให้กับเกษตรกรและสถาบันเกษตรกร Smart Farmer, Smart Group, Smart Enterprise เสริมสร้างความ
ภาคภูมิใจและความมั่นคงในอาชีพเกษตรกรรม บริหารจัดการแรงงานภาคเกษตรโดยน านวัตกรรมและเทคโนโลยี
มาประยุกต์ใช้
28