Page 26 - เล่มแผนยุทธ์ศาสตร์และแผนธุรกิจ สระบุรี. ปีบัญชี 2562
P. 26

26
                          ส ำนักงำน ธ.ก.ส. จังหวัดสระบุรี

                         SARABURI  Provincial  Office

                                         (2) สร้ำงโอกำสเข้ำถึงบริกำรทำงกำรเงิน

                                           จัดหาแหล่งเงินทุนและพัฒนาช่องทางการเข้าถึงแหล่งเงินทุนที่หลากหลายและ

                น่าเชื่อถือ
                                           ควบคุมการบริหารเงินสดและการบริหารความเสี่ยงของสาขาในสังกัด เพื่อ

                ตอบสนองความต้องการที่เหมาะสมกับแต่ละกลุ่ม
                                           ส่งเสริมการประเมินมูลค่าทรัพย์สินในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อใช้เป็นหลักประกัน

                ทางธุรกิจในการขอสินเชื่อของผู้ประกอบการ
                                           ส่งเสริมระบบการประเมินความน่าเชื่อถือทางเครดิตของสาขาในสังกัด ให้ได้

                ตามเกณฑ์มาตรฐานที่ธนาคารก าหนด

                                           สนับสนุนให้ทุกภาคส่วนสามารถเข้าถึงบริการทางการเงินด้วยต้นทุนที่
                เหมาะสม

                                         (3) สร้ำงโอกำสเข้ำถึงตลำด

                                           สนับสนุนผู้ประกอบการให้ความส าคัญกับการผลิตโดยใช้ตลาดน าที่ค านึงถึง
                ความต้องการของตลาดโดยเฉพาะตลาดที่มีมูลค่าสูง

                                           ส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีดิจิทัลในการขยายช่องทางการตลาด
                                           พัฒนาช่องทางการเข้าถึงตลาดใหญ่ที่มีศักยภาพส าหรับสินค้าและบริการของ

                เกษตรกรในพื้นที่ โดยพัฒนาความร่วมมือกับส่วนราชการ และหน่วยงานเอกชนที่เกี่ยวข้อง

                       2) ด้ำนกำรพัฒนำและเสริมสร้ำงศักยภำพทรัพยำกรมนุษย์


                       มุ่งเน้น การปลูกฝังและพัฒนาทักษะนอกห้องเรียน และการพัฒนาระบบฐานข้อมูลเพื่อการพัฒนา

                ทรัพยากรมนุษย์  การพัฒนาและส่งเสริมผู้มีความสามารถพิเศษด้านต่างๆ อย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง


                       3) ด้ำนกำรสร้ำงโอกำสและควำมเสมอภำคทำงสังคม


                          3.1) กำรลดควำมเหลื่อมล้ ำ สร้ำงควำมเป็นธรรมในทุกมิติ

                                        ปรับโครงสร้างเศรษฐกิจฐานราก พัฒนาการเกษตรให้เหมาะสมกับศักยภาพของ
                เกษตรกร ฐานทรัพยากรและบริบทของพื้นที่และชุมชนท้องถิ่น โดยเน้นระบบการจัดการตนเองของเกษตรกรและ

                การมีกลไกขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก และเพิ่มช่องทางการตลาดและเชื่อมโยงการค้าด้วยเครือข่ายพันธมิตรและ

                วิสาหกิจเพื่อสังคม
                          3.2) กำรเพิ่มขีดควำมสำมำรถของชุมชนท้องถิ่นในกำรพัฒนำ และพึ่งตนเองและกำรจัดกำร

                ตนเอง









                                                                                                                 26
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31