Page 22 - เล่มแผนยุทธ์ศาสตร์และแผนธุรกิจ สระบุรี. ปีบัญชี 2562
P. 22
22
ส ำนักงำน ธ.ก.ส. จังหวัดสระบุรี
SARABURI Provincial Office
1) กำรทบทวนกระบวนกำร เป็นขั้นตอนในการทบทวนกระบวนการจัดท าแผน เริ่มจากการศึกษา
กระบวนการจัดท าแผนของธนาคาร การน าองค์ความรู้ข้อคิดเห็นจากแหล่งต่างๆ เช่น การจัดกิจกรรมส่งเสริมการ
เรียนรู้ของส่วนงานชุมชนนักปฏิบัติ (Knowledge Management) รวมทั้งน าองค์ความรู้จากการนิเทศงาน สาขา
ในสังกัด การรับฟังข้อคิดเห็นของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย มาปรับปรุงให้การจัดท าแผนของธนาคารมีประสิทธิภาพและ
ประสิทธิผลมากยิ่งขึ้น โดยน าปัจจัยสภาพแวดล้อมการเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยี (Disruptive Technology)
พฤติกรรมผู้บริโภค เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals : SDGs) ยุทธศาสตร์ชาติ
ระยะ 20 ปี แผนปฏิรูปประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 ยุทธศาสตร์รัฐวิสาหกิจ
ภาพรวม แผนยุทธศาสตร์รัฐวิสาหกิจรายสาขา มาทบทวนทิศทางการด าเนินงาน ให้ความส าคัญในการเชื่อมโยง
ยุทธศาสตร์ของธนาคารกับยุทธศาสตร์ชาติ การทบทวนเป้าหมายในเชิงผลลัพธ์ (Output Outcome และ
Impact) ความสัมพันธ์ของตัวชี้วัดปัจจัยขับเคลื่อนในเชิง Leading / Lagging Indicator เพื่อให้แผนงาน
โครงการมีความละเอียดรอบครอบ ชัดเจนในการบรรลุผลลัพธ์ตามวัตถุประสงค์
2) กำรประเมินสถำนกำรณ์ เป็นขั้นตอนการรวบรวมข้อมูลสภาพแวดล้อมทั้งภายนอกและภายใน การ
วิเคราะห์ ประเมินการเปลี่ยนแปลงสถานการณ์ในปัจจุบัน แนวโน้มในอนาคตเพื่อทบทวนทิศทาง จุดเน้นให้
สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อม โดยเริ่มตั้งแต่การรับฟังความต้องการ ความคาดหวังของลูกค้าและ
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การวิเคราะห์ความต้องการทางสังคม ทิศทางนโยบายรัฐบาล ยุทธศาสตร์ระดับชาติ ระยะ 20
ปี แผนปฏิรูปประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนงาน โครงการที่เกี่ยวข้องกับแผนยุทธศาสตร์
รวมทั้งการเปลี่ยนแปลงของสภาพเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม สภาพภูมิอากาศ เทคโนโลยีและการแข่งขัน
พฤติกรรมผู้บริโภค
3) กำรก ำหนดยุทธศำสตร์ เป็นขั้นตอนการน าผลการวิเคราะห์ทั้งหมดมาทบทวนวิสัยทัศน์
พันธกิจ ค่านิยม กรอบความยั่งยืน เป้าประสงค์เชิงวิสัยทัศน์ กลยุทธ์ ซึ่งการทบทวนแผนยุทธศาสตร์ระยะ 5 ปี
และแผนธุรกิจปีบัญชี 2562 ให้ความส าคัญการปฏิรูปภาคการเกษตร โดยการเพิ่มผลิตภาพ (Productivity)
ตลอดห่วงโซ่มูลค่า พัฒนาผลิตภัณฑ์และช่องทางการให้บริการทั้งในรูปแบบดิจิทัล สาขา และเครือข่ายทางการ
เงิน และพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้าและต่อยอดธุรกิจ โดย
เชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี แผนปฏิรูปประเทศด้านต่างๆ เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) และ
ยุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง พร้อมทั้งปรับเป้าประสงค์เชิงวิสัยทัศน์ กลยุทธ์การด าเนินงานให้เป็นแบบ Customer
Centric และการปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยี
4) กำรถ่ำยทอดสู่กำรปฏิบัติ นับเป็นขั้นตอนที่ส าคัญในการมีส่วนร่วมของทุกส่วนงานให้จัดท าแผน
รองรับกรอบทิศทางยุทธศาสตร์ตามที่ธนาคารได้มีการทบทวน ซึ่งการด าเนินงานจะเกิดผลอย่างมีประสิทธิภาพได้
นั้นจ าเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องวิเคราะห์และประเมินช่องว่าง (GAP Analysis) ระหว่างยุทธศาสตร์กับการปฏิบัติงาน
ตามโครงการในปีที่ผ่านมา เพื่อค้นหาประเด็นปัญหาส าคัญที่กระทบต่อการด าเนินงานน ามาพัฒนาปรับปรุงและ
ผลักดันให้มีการปรับเปลี่ยนวิธีการและกระบวนการท างานใหม่ๆ ให้ดียิ่งขึ้นและทันต่อสถานการณ์ รวมถึงส่วนงาน
22