Page 46 - เล่มแผนยุทธ์ศาสตร์และแผนธุรกิจ สระบุรี. ปีบัญชี 2562
P. 46
46
ส ำนักงำน ธ.ก.ส. จังหวัดสระบุรี
SARABURI Provincial Office
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ควำมต้องกำรและควำมคำดหวัง
5. นายสุทิน คงพละ 1. ปัจจุบันเกษตรกรรายย่อยที่มีปัญหาหนี้สินที่ไม่สามารถช าระคืน ธ.ก.ส.ได้ สาเหตุหนึ่งมา
ต าแหน่ง ประธานก านัน จากขณะที่ไปขอสินเชื่อจาก ธ.ก.ส.แจ้งว่าไปท าการเกษตรแต่ได้เงินมาแล้วเกษตรกร
ผู้ใหญ่บ้าน น าไปใช้อย่างอื่น
2. ต้องการให้ ธ.ก.ส. เข้าไปร่วมประชุมประจ าเดือนก านัน ผู้ใหญ่บ้าน เพื่อสื่อสารงาน ธ.
ก.ส. เป็นประจ าทุกๆ เดือน ซึ่งก านัน ผู้ใหญ่ แต่ละเขตจะได้น าไปสื่อสารคณะกรรมการแต่
ละหมู่บ้านต่อไป จะท าให้งาน
ธ.ก.ส. เข้าถึงพื้นที่มากขึ้น
ประเด็น ข้อ 4 กิจกรรมทางสังคมที่ธนาคารควรขยายการด าเนินการ
- ธนาคารโรงเรียน
- การประกันภัยพืชผล
- การส่งเสริมการออม – กอช
- เงินฝากสงเคราะห์ชีวิต
1. นางบุษฐา นาคพุทธ 1. การด าเนินกิจกรรมโรงเรียนธนาคารของโรงเรียนวัดปทุมนายก ได้จ าลองมาจาก
ต าแหน่ง ผู้อ านวยการโรงเรียน ธนาคารส่งเสริมให้นักเรียนได้ออมเงินตั้งแต่เริ่มเข้าเรียนจนจบการศึกษา การออมเงินของ
วัดปทุมนายก นักเรียนนั้น นอกจากได้ออมเงินเป็นของตนเองแล้วยังได้ช่วยเหลือผู้ปกครองซึ่งเป็น
เกษตรกรชาวสวนได้อีกในกรณีมีค่าใช้จ่ายฉุกเฉิน
2. ต้องการให้ ธ.ก.ส. ท าโครงการจิตอาสาให้กับโรงเรียนต่าง ๆ ได้มีกิจกรรมร่วมกัน โดย
ให้ ธ.ก.ส. เป็นจุดศูนย์กลางท าหน้าที่เป็นเครือข่าย
2. คุณปาริยาภรณ์ แสงสว่าง - ในปี 2562 นี้ การประกันภัยพืชผลให้กับเกษตรกร จะเพิ่มเติมในเขตพื้นที่สีเขียวหาก
ต าแหน่ง ผู้แทน คปร.จังหวัด เกษตรกรต้องการท าประกันภัยเพิ่มจะเสียค่าเบี้ยประกันที่ถูกลง จึงต้องการให้ ธ.ก.ส.
พระนครศรีอยุธยา สนับสนุนให้เกษตรกรลูกค้าของ ธ.ก.ส. ท าประกันภัยพืชผลนอกจากในเขตพื้นที่สีแดงแล้ว
ก็ให้ท าประกันภัยในเขตพื้นที่สีเขียวเพิ่มเติมด้วย
3. นางสมศิริ จิตรไพศาลศรี 1. การด าเนินงานของสหกรณ์จังหวัดมีเป้าหมายเดียวกันกับ ธ.ก.ส. ต้องการให้สหกรณ์
ต าแหน่ง ผู้อ านวยการกลุ่ม การเกษตรแข็งแรงเป็นที่พึ่งของสมาชิกได้ และสุดท้ายเกษตรกรมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
ส่งเสริมและพัฒนาการบริหาร 2. นโยบายการด าเนินงานของสหกรณ์จังหวัดแต่ละปีมีหลักการที่ดีแต่แผนปฏิบัติต่างๆ ไม่
การจัดการสหกรณ์ ประสบความส าเร็จเท่าที่ควร ควรเป็นสหกรณ์การเกษตรที่แข็งแรงดีแล้วก็จะพึ่งตนเอง แต่
หากเป็นสหกรณ์การเกษตรที่ยังอ่อนแออยู่ก็จะเข้าไปช่วยเหลือได้ง่ายขึ้น
3. ปัญหาที่เกษตรกรประสบกันเป็นประจ าทุกปี ได้แก่ ภัยแล้ง น้ าท่วม โรคแมลงและราคา
ตกต่ า ซึ่งเป็นปัญหาเดิมๆ และจะไม่หมดไป หากเกษตรกรไม่ปรับเปลี่ยนการผลิต หรือวาง
แผนการผลิตได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น
46